Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10932
Title: ผลการจัดประสบการณ์โดยใช้วิธีการสืบค้นที่มีต่อความสามารถทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กอนุบาล
Other Titles: Effects of organizing experience by using the investigative approach on mathematical ability of kindergateners
Authors: นิตยา บุญปู่
Advisors: น้อมศรี เคท
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์
Advisor's Email: Normsri.C@Chula.ac.th
Subjects: การศึกษาขั้นอนุบาล
ความสามารถทางคณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (อนุบาล)
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการจัดประสบการณ์โดยใช้วิธีการสืบค้นที่มีต่อความสามารถทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กอนุบาล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นเด็กอนุบาลชั้นปีที่ 2 อายุ 5-6 ปี ของโรงเรียนอนุบาลพิจิตร จำนวน 68 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 36 คน และกลุ่มควบคุม 32 คน กลุ่มทดลองได้รับการจัดประสบการณ์โดยใช้วิธีการสืบค้น ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดประสบการณ์ตามปกติ ทั้งสองกลุ่มได้รับการจัดประสบการณ์เป็นเวลา 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบความสามารถทางคณิตศาสตร์วิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบค่าที (t-test) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม ผลการวิจัยพบว่า คะแนนความสามารถทางคณิตศาสตร์ในกลุ่มทดลองสูงกว่าคะแนนความสามารถทางคณิตศาสตร์ในกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Other Abstract: The purpose of this research was to investigate the effects of organizing experience by using the investigative approach on mathematical ability of kindergarteners. The subjects were sixty-eight second preschool year, ages five to six at Anubanphichit school. The students were divided into two groups; thirty-six in the experimental group and thirty-two in the control group. The experimental group was organized experience by using the investigative approach whereas the control group was organized experience according to the conventional approach. The duration of the study was 12 weeks. the instrument used in this study was a mathermatical ability test. Data were analyzed by using t-test to compare mathematical ability between the students in the experimental and the control group. The research was found that mathematical ability scores of students in the experimental group was significantly higher than those of in the control group at the .05 level.
Description: วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: การศึกษาปฐมวัย
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10932
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1140
ISBN: 9741736347
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2003.1140
Type: Thesis
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nittaya.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.