Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11018
Title: การใช้หอสมุดปรีดี พนมยงค์ของอาจารย์และนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Other Titles: The use of the Pridi Banomyong Library by faculty members and graduate students of Thammasat University
Authors: วิภา บุญแดง
Advisors: ชลัยพร เหมะรัชตะ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
Advisor's Email: Chalaiporn.H@Chula.ac.th
Subjects: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สำนักหอสมุด -- การศึกษาการใช้
ห้องสมุดเฉพาะ -- ไทย
หอสมุดปรีดี พนมยงค์
ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา -- ไทย
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้หอสมุดปรีดี พนมยงค์ของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในด้านวัตถุประสงค์ ความถี่ในการใช้ ประเภทของทรัพยากรสารนิเทศ เนื้อหาวิชา บริการ และปัญหาในการใช้หอสมุดปรีดี พนมยงค์ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า อาจารย์ทั้งหมดที่ตอบแบบสอบถามใช้ห้องสมุดเพื่อประกอบการสอน โดยส่วนใหญ่เข้าใช้ 2-3 ครั้งต่อเดือน ทรัพยากรสารนิเทศที่อาจารย์ส่วนใหญ่ใช้คือหนังสือวิชาการภาษาอังกฤษ ใช้เนื้อหาวิชาหมวดเศรษฐศาสตร์จำนวนมากที่สุด และส่วนใหญ่ใช้บริการยืมคืน ขณะที่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาส่วนใหญ่ใช้ห้องสมุดเพื่อประกอบการทำรายงาน ภาคนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ โดยเข้าใช้มากกว่า 1 ครั้งต่อสัปดาห์ ทรัพยากรสารนิเทศที่นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คือหนังสือทั่วไปภาษาไทย ใช้เนื้อหาวิชาหมวดเศรษฐศาสตร์จำนวนมากที่สุด และส่วนใหญ่ใช้บริการยืม-คืนเช่นเดียวกันกับอาจารย์ ส่วนปัญหาที่ทั้งอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาประสบปัญหาในระดับมาก ได้แก่ มีรายชื่อทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการในฐานข้อมูล แต่หาตัวเล่มไม่พบ (X=3.80) ต้องรอถ่ายเอกสารนาน (X=3.79) และเครื่องคอมพิวเตอร์ขัดข้องบ่อย (X=3.57) ตามลำดับ
Other Abstract: The objective of this research was to study the use of the Pridi Banomyong Library by faculty members and graduate students of Thammasat University on purposes of use, frequency, types of information resources, subjects, and services. Some problems in library use were also studied. Findings concluded that all faculty members use the library for teaching purpose. Most of them used the library about 2-3 times per month, used English textbooks, mainly used economics contents, and circulation service was the most used. The majority of graduate students used the library for report, thesis, or dissertation writing. They used the library more than once a week, used general Thai books, mainly used economics contents, and circulation service was the most used. Major problems faced by both groups were : books appeared in bibliographic databases were not on the shelves (X=3.80), photocopy service not efficient (X=3.79), and computers for online search in the Library often were not working (X=3.57).
Description: วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: อักษรศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11018
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1245
ISBN: 9741735758
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2003.1245
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vipa.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.