Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอมราวดี อังค์สุวรรณ-
dc.contributor.advisorวัชรินทร์ ปัจเจกวิญญูสกุล-
dc.contributor.authorชูมิตร อินต๊ะฟู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-09T11:47:02Z-
dc.date.available2009-09-09T11:47:02Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741736819-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11057-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาถึงแนวคิดหลักกฎหมายและมาตรการต่างๆ ในการฟื้นฟูผู้เยาว์ ซึ่งถูกกระทำรุนแรงโดยบุคคลในครอบครัว ทั้งในต่างประเทศและประเทศไทยว่ามีมาตรการทางกฎหมายเพื่อการบำบัดฟื้นฟูผู้เยาว์ ซึ่งถูกกระทำรุนแรงโดยบุคคลในครอบครัว อีกทั้งมีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จากการนำมาตรการดังกล่าวมาใช้บังคับ เพื่อการฟื้นฟู ผู้เยาว์ซึ่งถูกกระทำรุนแรงโดยบุคคลในครอบครัว ผลจากการศึกษาวิจัยในครั้งนี้พบว่า มาตรการทางกฎหมายในการฟื้นฟูผู้เยาว์ซึ่งถูกกระทำรุงแรงโดยบุคคลในครอบครัวในประเทศไทยยังไม่มีบัญญัติไว้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จึงให้เสนอแนะว่า 1. ในคดีอาญาที่บิดามารดาหรือผู้ใช้อำนาจปกครองทำร้ายผู้เยาว์ ควรอยู่ในเขตอำนาจในการพิจารณาคดีของศาลเยาวชนและครอบครัว 2. ควรกำหนดวิธีการในการฟื้นฟูสภาพทางร่างกายและจิตใจของผู้เยาว์อย่างเป็นขั้นตอน โดยจัดทำเป็นแผนฟื้นฟูผู้เยาว์ซึ่งถูกกระทำรุนแรงโดยบุคคลในครอบครัว 3. ควรกำหนดอำนาจหน้าที่ของศาลเยาวชนและครอบครัวในการออกคำสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาตตามแผนฟื้นฟูผู้เยาว์ซึ่งถูกกระทำรุนแรงโดยบุคคลในครอบครัว 4. ควรกำหนดให้เจ้าหน้าที่ซึ่งมีความเชี่ยวชาญทั้งในด้านสังคมสงเคราห์ ด้านจิตวิทยา ด้านการแพทย์ ด้านกฎหมาย อันมีลักษณะเป็นทีมงานสหวิชาชีพ ในการบำบัดฟื้นฟูผู้เยาว์ซึ่งถูกกระทำรุนแรงโดยบุคคลในครอบครัว 5. ควรกำหนดให้มีมาตรการในการบำบัดฟื้นฟูบุคคลในครอบครัวซึ่งกระทำความรุนแรงต่อผู้เยาว์ 6. ควรกำหนดให้มีการบังคับคดีในเรื่องค่าเสียหายกับผู้กระทำความผิดในทางแพ่งอย่างรวดเร็วen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the main legal concept and the measures regarding the rehabilitation of child who was abused by family member in Thailand and overseas as well as to study the problems arising from such applicable measures. The outcome of this research found that no legal measures to rehabilitate the abused child by member of family enforceable in Thailand, this thesis shall be suggested as follows. 1. In criminal case where the parent or the person who coercive parental right arouse or abuse their child should be under jurisdiction of juveniles court. 2. There should be the rehabilitation methods systematically regarding the determination of child, both mental and physical. 3. There should be the determinations as to the responsibilities, power and duties of juvenile's court in connection with the permission and non-permission order according to the rehabilitation plan for child abused by family members. 4. There should be cooperative work among expertise on social service, physiology, medicament and law in order to rehabilitate the abused child. 5. There should be the rehabilitation measure and mental development plan for the family members who abuse their child. 6. There should be an exclusion in compensation to the wrong does in civil action as soon as possible.en
dc.format.extent1343562 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความรุนแรงในครอบครัวen
dc.subjectเด็กที่ถูกทารุณen
dc.titleกฎหมายกับการฟื้นฟูผู้เยาว์ซึ่งถูกกระทำรุนแรงโดยบุคคลในครอบครัวen
dc.title.alternativeLaw and rehabilitation of child abuse by their familyen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chumit.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.