Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1153
Title: | การทำนายพฤติกรรมด้วยแบบจำลองของดินเหนียวภายใต้การกระทำของแรงแบบวัฏจักร |
Other Titles: | Model prediction of cyclic response of normally consolidated clay |
Authors: | อภิชาติ อัศวเสนา, 2519- |
Advisors: | สุพจน์ เตชวรสินสกุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Supot.T@chula.ac.th |
Subjects: | ดินเหนียว ดิน -- การทดสอบ |
Issue Date: | 2544 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การศึกษาวิจัยในวิทยานิพนธ์เรื่องนี้ได้ทำการศึกษาและพัฒนาแบบจำลองแบบอีลาสโตพลาสติค เพื่อนำมาใช้คาดคะเนผลการทดสอบที่ทำการทดสอบกับตัวอย่างดินเหนียว โดยการให้แรงแบบวัฏจักรและแบบโมโนโทนิคใช้วิธีการทดสอบเป็นแบบไม่ระบายน้ำโดยใช้โมดิฟาย์แคมเคย์มาเป็นต้นแบบในการพัฒนาซึ่งใช้จำลองพฤติกรรมของดินเหนียวกรุงเทพฯในสภาพเปียกได้ดี ในการพัฒนาได้นำคิเนมาติคฮาร์ดเดนนิ่งฟังค์ชั่นและอนุญาติให้มีการเกิดความเครียดที่ย้อนกลับไม่ได้หรือความเครียดที่เกิดจากพลาสติคภายในพื้นผิวคลาก แสดงให้เห็นว่าความเครียดที่ย้อนกลับไม่ได้ที่เกิดภายในพื้นผิวคลากมีการเกิดขึ้นเป็นสัดส่วนกับขนาดของความเค้นที่วัดจากขอบนอกสุดของพื้นผิวคลากกับความเค้นที่เกิดขึ้นภายในพื้นผิวคลาก จากผลการคำนวณพบว่าการใช้แบบจำลองที่พัฒนาขึ้นมาเปรียบเทียบกับผลการทดสอบดินจากเครื่องทดสอบแรงอัดสามแกนซึ่งให้แรงแบบโมโนโทนิคสามารถคำนวณได้ดีเมื่อนำมาใช้กับดินเหนียวกรุงเทพฯ โดยตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณได้แสดงอยู่ในบทที่ 5 ของวิทยานิพนธ์เล่มนี้ซึ่งตัวแปรที่ใช้ในการคำนวณสำหรับดินเหนียวกรุงเทพฯ ในการวิจัยครั้งนี้มีค่า phi ประมาณ 10 ยกกำลัง 0 - 31 ยกกำลัง 0 มีค่า CR (คอมเพรสชั่นเรโช) ประมาณ 0.1088 มีค่า RR (รีคอมเพรสชั่นเรโช) ประมาณ 0.0247 และมีค่า G ประมาณ 5000 กิโลปาลคาลและตัวแปรที่ทำการเพิ่มเข้าไปช่วยในการคำนวณการเคลื่อนตัวที่เกิดจากพลาสติค ซึ่งใช้ค่า Ac ประมาณ 0.60-0.75 ใช้ค่า Bc ประมาณ 0.92-4.9 ใช้ค่า m ประมาณ 4.10-6.10 และใช้ค่า h ประมาณ 0.00000001 |
Other Abstract: | The objective of this research is to study and develop an elasto-plastic model to predicting behavior of soil samples in cyclic and monotonic loading. The modified cam-clay model is adopted as the main platform. It has been modified to properly simulate the behavior of Bangkok wet clay. A kinematic hardening function allowing the plastic strain development inside the main yield surface was developed. It expressed the plastic strain (inside the yield surface) by proportionality the distance of the current stress condition to the bounding surface. It was found that the developed model compared with experiment for monotonic loading. The results were good prediction with application to Bangkok wet clay. In summary the parameters used for Bangkok clay are phi ~ 10 power 0 - 31 power 0, CR ~ 0.1088, RR ~ 0.0247, G = 5000 kPa, Ac = 0.60-0.75, Bc = 0.92-4.90, m = 4.10-6.10, and h = 0.00000001. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมเคมี |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1153 |
ISBN: | 9740310923 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
apichat.pdf | 2.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.