Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมาพร ตรังคสมบัติ-
dc.contributor.advisorณัทธร พิทยรัตน์เสถียร-
dc.contributor.authorดลฤดี แดงน้ำคู้-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-03-31T08:25:03Z-
dc.date.available2011-03-31T08:25:03Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15012-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เพื่อศึกษาระดับความเครียดและปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับความเครียดของผู้ ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กสมาธิสั้น ที่เข้ารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอก หน่วยจิตเวชเด็กและวัยรุ่น แผนกจิตเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 96 คน โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบประเมินอาการความรุนแรงของโรคสมาธิสั้น แบบประเมินปัญหาพฤติกรรมที่แสดงออกเวลาอยู่ที่บ้าน แบบประเมินความเครียดจากการดูแลบุตร และแบบวัดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา Independent t - test , One-way ANOVA และ Multiple Linear Regression Analysis ผลการศึกษาพบว่า ผู้ปกครองของเด็กสมาธิสั้นร้อยละ 68.8 มีความเครียดในการดูแลเด็กในระดับรุนแรง ค่าเฉลี่ยคะแนนความเครียดของผู้ปกครองมีค่า (Mean) เท่ากับ 98.4 และความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) เท่ากับ 18.59 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับความเครียดในการเลี้ยงดูเด็กสมาธิสั้นคือ ระดับของปัญหาพฤติกรรมที่แสดงออกเวลาอยู่ที่บ้าน ความรุนแรงของพฤติกรรมดื้อต่อต้าน การมีหรือไม่มีคนช่วยดูแลเด็ก และระดับการศึกษาของผู้ปกครอง ผลการศึกษาที่ได้จะเป็นข้อมูลแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการวางแผนการรักษา และให้ความช่วยเหลือ และกำหนดแนวทางส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตของผู้ปกครองเด็กสมาธิสั้น ต่อไป.en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this cross-sectional descriptive study was to examine the level of parenting stress and associated factors among parents or caretakers of children with ADHD in Child and Adolescent Psychiatric Unit, King Chulalongkorn Memorial Hospital. Population studied were 96 parents of children with ADHD. The research instruments were Demographic Questionnaire, Swanson, Nolan and Pelham-IV Questionnaire-Short Form (SNAP-IV), Home Situation Questionnaire (HSQ), Parenting Stress Index-Short Form (PSI-SF), and ADHD Knowledge Questionnaire. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t – test, one-way ANOVA, and multiple linear regression The results showed that 68.8 % of parents of children with ADHD had significant parenting stress. Factors related to it were the severity of ADHD symptoms as measured by the Home Situation Questionnaire. oppositional defiant symptoms, availability of alternative, back-up caretakers in the family, and parents’ educational background. The results were valuable in planning the appropriate, thorough service to ADHD children and the family.en
dc.format.extent3737861 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1072-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้ปกครองกับเด็กen
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)en
dc.subjectเด็กสมาธิสั้นen
dc.titleความเครียดของผู้ปกครองในการเลี้ยงดูเด็กสมาธิสั้นen
dc.title.alternativeParenting stress in caretakers of children with ADHDen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisormaporn.Tr@Chula.ac.th-
dc.email.advisordrnuttorn@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1072-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
donrudee.pdf3.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.