Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17908
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภร สุวรรณาศรัย-
dc.contributor.advisorเชวง จันทรเขตต์-
dc.contributor.authorวันชัย ปัจจุสานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-03-14T14:07:15Z-
dc.date.available2012-03-14T14:07:15Z-
dc.date.issued2522-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17908-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2522en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับการออกแบบกราฟิกสำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทตำราเรียน ระดับมหาวิทยาลัยที่มีอยู่แล้วพวกหนึ่ง กับอีกพวกหนึ่งเป็นการออกแบบกราฟิกใหม่ๆ ซึ่งคาดว่าจะมีการนำมาใช้พิมพ์ตำราเรียน เพื่อนำไปสู่การสรุปหาข้อยุติว่า การออกแบบกราฟิกลักษณะใดบ้างที่นิสิตนักศึกษาชอบ ทั้งยังส่งเสริมการเรียนรู้รวมทั้งมีความเหมาะสมในการจัดพิมพ์ จัดรูปเล่มให้เกิดความประหยัด ความสวยงามน่าอ่าน เครื่องมือในการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 พวกใหญ่ๆ คือแบบทดสอบทัศนคติ และแบบทดสอบความต้องการของรูปแบบ การออกแบบกราฟิกสำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทตำราเรียน โดยที่ผู้ทำวิจัยสร้างขึ้นเองจากหนังสือ ตำราเรียนที่ไม่ได้ใช้กับกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่ไปทำการทดสอบ กลุ่มตัวอย่างประชากรเป็นนิสิตนักเรียนชายหญิง ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1-4 จำนวนรวม 200 คน ซึ่งกำลังศึกษาอยู่ในปีการศึกษา 2521 ซึ่งคาดว่าจะเป็นตัวอย่างของประชากรนิสิต นักศึกษามหาลัยทั่วประเทศได้ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบ ปัญหาข้อบกพร่องและความต้องการด้านออกแบบกราฟิก สำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทตำราเรียนระดับมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการวางเรื่องและภาพ การใช้สีประกอบ ควรได้รับการปรับปรุงอย่างมาก 2. แนวทางการออกแบบกราฟิกสำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทตำราเรียน และสิ่งพิมพ์อื่นๆ มีดังนี้ ก. ขนาดของรูปเล่มของตำราเรียนที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน (รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าทางตั้ง ขนาด 8 นิ้ว หน้ายก 8 นิ้ว คูณ 11 นิ้ว) เป็นขนาดและรูปเล่มที่นิสิตพอใจอยู่แล้ว เพราะเห็นว่าสะดวกและประหยัด ข. นิสิตเห็นความสำคัญของหนังสือพิมพ์และนิตยสาร และใช้ค้นคว้าบ่อยครั้ง จึงเน้นความสำคัญด้านกราฟิกสำหรับตำราเรียนประเภทนี้ ค. ตำเรียนภาษาไทยที่เป็นเล่ม นิสิตส่วนใหญ่ชอบค้นคว้ามากกว่า Sheet คำสอนที่อาจารย์มอบหมายให้ 3. ผลการวิจัยครั้งนี้มีประโยชน์ในการจัดพิมพ์ตำราเรียน เพราะทราบว่าความต้องการด้านการออกแบบกราฟิกของนิสิตส่วนใหญ่แล้วว่าต้องการให้เป็นแบบเรียบง่าย ประหยัด และมีข้อเสนอแนะว่าในการจัดพิมพ์ควรให้มีเจ้าหน้าที่ควบคุมงานด้านกราฟิกในการพิมพ์เพื่อให้ได้ผลงานที่ถูกต้องตามหลักวิชาด้านการออกแบบกราฟิกให้น่าสนใจ น่าศึกษาค้นคว้ามากขึ้นเพื่อประสิทธิภาพด้านการเรียนการสอน-
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this thesis is to find the data on graphic designs for college printed media. The designs being studied include the present day usings and the predictive ones. The answers from this research will help clarifying which kind of graphic designs will help promoting "Learning situation" and which kind of designs will be more economic, attractive, beautiful and worth printing. The instrument for the data-gathering is the questionaire which is divided into two parts. The first part seeks for the attitude towards present day using textbooks and the second part towards future using textbooks. The samples are comprised of two hundred students from the various faculties of Chulalongkorn University. The collected data is analized in terms of percentage. Major findings are as follow: 1. The techique of graphic art for Thai printed media especially page layouting, illustrating and colouring techniques, as considered by the students, need serious improvement. 2. Most students are satisfied with the forms and sizes of the present day textbooks (Vertical: rectangular 8"x11") in terms of practicality and economy. 3. The students give credibility to newspapers and magazines to be used as the research subjects. 4. Most students prefer studying from Thai textbooks to the assigned sheets.-
dc.format.extent328017 bytes-
dc.format.extent429907 bytes-
dc.format.extent611799 bytes-
dc.format.extent254114 bytes-
dc.format.extent339335 bytes-
dc.format.extent265610 bytes-
dc.format.extent318682 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพิมพ์en
dc.titleการออกแบบกราฟิคสำหรับสิ่งพิมพ์ประเภทตำราเรียนระดับมหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeGraphic design for college printed mediaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vanchai_Pa_front.pdf320.33 kBAdobe PDFView/Open
Vanchai_Pa_ch1.pdf419.83 kBAdobe PDFView/Open
Vanchai_Pa_ch2.pdf597.46 kBAdobe PDFView/Open
Vanchai_Pa_ch3.pdf248.16 kBAdobe PDFView/Open
Vanchai_Pa_ch4.pdf331.38 kBAdobe PDFView/Open
Vanchai_Pa_ch5.pdf259.38 kBAdobe PDFView/Open
Vanchai_Pa_back.pdf311.21 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.