Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18184
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ | - |
dc.contributor.advisor | สุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม | - |
dc.contributor.author | จารีรัตน ปรกแก้ว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.coverage.spatial | ไทย | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-19T14:14:10Z | - |
dc.date.available | 2012-03-19T14:14:10Z | - |
dc.date.issued | 2529 | - |
dc.identifier.isbn | 9745647519 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18184 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มุ่งรวบรวมและวิเคราะห์งานวิจัยด้านครูศึกษาในประเทศไทย เพื่อจำแนกประเภทงานวิจัยในเชิงระบบของการครูศึกษาตามแนวโมเดล CIPP และเสนอข้อสรุปของการบูรณาการผลวิจัยในเชิงปริมาณและเชิงบรรยาย อันจะก่อประโยชน์ต่อการพัฒนาระบบข้อมูลทางด้านครูศึกษา และการนำผลวิจัยไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ประชากรของการวิจัย คืองานวิจัยด้านครูศึกษาที่มีคุณภาพที่พิมพ์เผยแพร่ระหว่างปีพุทธศักราช 2502 ถึง 2526 เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบประเมินคุณภาพงานวิจัย แบบวิเคราะห์ประเภทงานวิจัยด้านครูศึกษาและแบบสรุปลักษณะงานวิจัย ในการวิเคราะห์ผลการวิจัยใช้วิธีเคราะห์เนื้อเรื่อง และวิธีวิเคราะห์แบบเมตต้า ข้อค้นพบที่สำคัญของการวิจัยคือ 1.งานวิจัยด้านครูศึกษาในประเทศไทยที่พิมพ์เผยแพร่ระหว่างปีพ.ศ. 2502 -2526 มีจำนวน 793 เรื่อง เมื่อจำแนกประเภทงานวิจัยในเชิงระบบของการครูศึกษาตามแนวโมเดล CIPP พบว่ามีปริมาณงานวิจัยด้านต่างๆ ดังนี้ (1) ด้านสภาวะแวดล้อมของการครูศึกษา มีจำนวนงานวิจัย 35 เรื่อง (2) ด้านปัจจัยเบื้องต้นในการครูศึกษา มีจำนวนงานวิจัย 83 เรื่อง (3) ด้านกระบวนการของการครูศึกษา มีจำนวนงานวิจัย 643 เรื่อง และ (4) ด้านผลผลิตของการครูศึกษา มีจำนวนงานวิจัย 53 เรื่อง 2 ผลการบูรณาการผลวิจัย 2.1 ด้านการคาดคะเนความต้องการครูของประเทศไทยมีจำนวนงานวิจัยทั้งสิ้น 7 เรื่อง ส่วนใหญ่เป็นของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและเป็นการคาดคะเนความต้องการครูในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา มีทั้งในระดับมหภาคและจุลภาคโดยคาดคะเนในช่วง พ.ศ. 2521 -2529 ผลการคาดคะเนความต้องการครูของงานวิจัยส่วนใหญ่ไม่สอดคล้องกัน บางส่วนมีความต้องการครูในอัตราที่เพิ่มขึ้น บางส่วนมีอัตราความต้องการครูลดลง 2.2 ด้านการเปรียบเทียบผลการสอนวิชาคณิตศาสตร์ให้แก่นักศึกษาครูระดับ ป.กศ. ชั้นสูงด้วยวิธีสอนแบบค้นพบและวิธีสอนแบบบรรยาย มีจำนวนงานวิจัย 15 เรื่อง ผลการวิเคราะห์แบบเมตต้า พบว่า โดยทั่วไปแล้วยังไม่มีหลักฐานเพียงพอที่จะกล่าวได้ว่า วิธีการสอนแบบค้นพบให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่าวิธีการสอนแบบบรรยาย แต่พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะงานวิจัยบางลักษณะกับผลมาตรฐานอันได้แก่ ลักษณะจำนวนคาบที่ใช้ทดลองแบบ 4-7 คาบ กับแบบ 9-12 คาบ และลักษณะการใช้กลุ่มทดลองแบบกลุ่มเดียวกับแบบสองกลุ่มและพบว่า เพื่อพิจารณาเฉพาะกลุ่มนักศึกษาครูที่มีผลสัมฤทธิ์สูงหรือต่ำ วิธีสอนแบบค้นพบให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์สูงกว่าวิธีสอนแบบบรรยาย 2.3 ด้านปัญหาการฝึกสอน มีจำนวนงานวิจัย 22 เรื่อง ส่วนใหญ่ผลิตจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศึกษาปัญหาการฝึกสอนตั้งแต่ พ.ศ. 2505 เรื่อยมาจนกระทั่งปัจจุบัน ปัญหาการฝึกสอนที่เป็นปัญหามากอย่างสอดคล้องกันในงานวิจัยจำนวนมากคือ (1) การขาดทักษะในการเลือกและใช้วิธีสอนที่เหมาะสม (2) ความลำบากในการเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์การสอนที่เหมาะสม (3) ความลำบากในการวางแผนการสอนระยะสั้นและระยะยาว (4) ความลำบากในการควบคุมชั้นเรียนให้มีระเบียบวินัย และ (5) อาจารย์นิเทศก์ทั้งฝ่ายคณะและฝ่ายโรงเรียนไม่มีเวลาเพียงพอให้คำแนะนำแก่นักศึกษาฝึกสอน 2.4 ด้านการติดตามผลการปฏิบัติงานของผู้สำเร็จจากการครูศึกษามีจำนวนงานวิจัย 29 เรื่อง ส่วนใหญ่ผลิตโดยมหาวิทยาลัยศรีนครีนทรวิโรฒ มีการติดตามผลการปฏิบัติงานมาตั้งแต่ พ.ศ. 2497 เรื่อยมาจนกระทั่งปัจจุบัน ผลการวิจัยส่วนใหญ่สอดคล้องกัน คือ ผู้สำเร็จจากการครูศึกษาส่วนใหญ่มีผลการปฏิบัติงานโดยรวมอยู่ในระดับดี | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this thesis were to identify, to classify and to analize Thai teacher education researches which were published from 1959 to 1986. Three instruments were used in this thesis. They were (1) a research evaluation form, (2) a teacher education research classification form and (3) a research coding form. The collected information and data were analized by means of content analysis and meta-analysis. Findings : 1. There were 793 teacher education researches which were published from 1959 to 1986. After classifying the researches into 4 areas according to the CIPP model, the numbers of the researches were distributed as follow : (1) 35 researches were in the area of teacher education ¬context (2) 83 researches were in the area of teacher education - input (3) 643 researches were in the area of teacher education - process (4) 53 researches were in the area of teacher education - product. 2. Results from integration of the research findings in four selected topics : 2.1 Projection of the numbers of needed teachers in the future. There were 7 researches in this topic, and most of them were produced by Chulalongkorn University. The micro and macro projections were done both in elementary and secondary school levels. However, the direction of projections was inconsistent. 2.2 Comparisons of mathematics achievement between teacher students who were taught by a discovery learning method and a lecturing method. There were 15 researches in this topic. Four results were found from a meta - analysis. First, there were not enough evidences to conclude a significant difference between two types of teaching in general. Secondly, there was a relationship between numbers of teaching period and effect size. Thirdly, there was a relationship between numbers of experimental groups and effect size. Finally, significant differences were specifically found in the high achiever group and in the low achiever group. 2.3 Students teaching problems. There were 22 researches in this topic. Most of the researches were produced by Chulalongkorn University and from 1952 until 1986. The most serious problems which consistently occured were (1) lacking of skills in selecting suitable teaching strategies (2) dificulties in selecting suitable teaching aids (3) difficulties in doing short and long lesson planning (4) difficulties in classroom managing and (5) not having enough time and suggestion from supervisors and co - operative teachers. 2.4 A follow up study of teacher education graduates. There were 29 researches in this topic. Most of them were produced by Srinakarintraviroj University. The result consistently showed that the performances of the graduates were at good level. | - |
dc.format.extent | 382849 bytes | - |
dc.format.extent | 293642 bytes | - |
dc.format.extent | 673850 bytes | - |
dc.format.extent | 349985 bytes | - |
dc.format.extent | 957038 bytes | - |
dc.format.extent | 415967 bytes | - |
dc.format.extent | 1785448 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ครุศาสตร์ -- วิจัย | en |
dc.subject | การฝึกหัดครู | en |
dc.title | การวิเคราะห์งานวิจัยด้านครุศึกษาในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | An analysis of teacher education research in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิจัยการศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Somwung.P@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Suwatana.S@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Jareeratana_Pr_front.pdf | 373.88 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jareeratana_Pr_ch1.pdf | 286.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jareeratana_Pr_ch2.pdf | 658.06 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jareeratana_Pr_ch3.pdf | 341.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jareeratana_Pr_ch4.pdf | 934.61 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jareeratana_Pr_ch5.pdf | 406.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Jareeratana_Pr_back.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.