Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18270
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สำเภา วรางกูร | - |
dc.contributor.author | ชนิดา คัคนานต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-03-20T15:01:00Z | - |
dc.date.available | 2012-03-20T15:01:00Z | - |
dc.date.issued | 2518 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18270 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อสร้างสถานการณ์จำลอง : ปัญหาการเลือกและการใช้สื่อการสอน ออกมาโดยใช้สื่อต่างๆ 4 แบบ คือ เทปโทรทัศน์ (Video Tape) บรรยายเหตุการณ์ (Written Incident ) สไลด์ชุดประกอบคำบรรยาย ( Slide-Tape Synchronized ) และการแสดงบทบาท ( Role-Playing) พร้อมทั้งทดสอบหาประสิทธิภาพของการใช้สถานการณ์จำลองที่สร้างขึ้นในการฝึกแก้ปัญหาสำหรับนิสิตฝึกสอนก่อนออกทำการฝึกสอนจริง วิธีดำเนินงาน 1. ศึกษาค้นคว้าพัฒนาการการสร้างสถานการณ์จำลองจากตำรา เอกสารอ้างอิง และรายงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2. ศึกษาปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับการเลือกและใช้สื่อการสอน กำหนดเลือกมา 4 ปัญหาคือ ก. ปัญหาครูเลือกและใช้สื่อการสอนไม่เหมาะ ข. ปัญหาการใช้สื่อการสอนประเภทวัสดุ ค. ปัญหาการใช้อุปกรณ์ประเภทเครื่องฉาย ง. ปัญหาการใช้วิทยากรจากแหล่งชุมชนช่วยสอน นำปัญหาที่เลือกมาแล้วเข้าประชุมพิจารณาเพื่อสร้างเป็นสถานการณ์จำลองโดยใช้สื่อต่างๆ 4 แบบ คือ แถบบันทึกภาพ การบรรยายเหตุการณ์ สไลด์ชุดประกอบคำบรรยายการแสดงบทบาท เมื่อสร้างสถานการณ์จำลองเสร็จแล้ว จึงทำการประเมินคุณภาพสถานการณ์จำลองโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หลังจากนั้นนำไปทดสอบหาประสิทธิภาพการใช้โดยทดลองใช้กับนิสิตครุศาสตร์ชั้นปีที่ 4 ที่จะออกฝึกสอนในปีการศึกษา 2518 จำนวน 50 คน ผลการวิจัย จากการทดลองใช้สถานการณ์จำลองปัญหาการเลือกและการใช้สื่อการสอนผลปรากฏว่าสถานการณ์จำลองเป็นอุปกรณ์การศึกษาที่สามารถนำไปใช้ฝึกแก้ปัญหาการเรียนการสอนก่อนออกฝึกสอนได้ จากแบบสอบถามความคิดเห็น นิสิตฝึกสอนส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการนำเอาสถานการณ์จำลองมาใช้ฝึกแก้ปัญหาก่อนออกทำการฝึกสอนจริง ข้อเสนอแนะ สถานการณ์จำลองเป็นอุปกรณ์ที่สามารถที่นำไปใช้ฝึกแก้ปัญหาการเรียนการสอนของนิสิตก่อนที่จะออกฝึกสอนได้ ดังนั้นจึงควรที่นักเทคโนโลยี นักการศึกษา และผู้บริหารการศึกษาควรจะพิจารณาส่งเสริมให้มีการสร้างสถานการณ์จำลองมาใช้ในวงการศึกษาเพิ่มขึ้นและควรมีการวิจัยเกี่ยวกับการสร้างสถานการณ์จำลองในระดับชั้นต่างๆ อย่างกว้างขวางเพื่อการพัฒนาการศึกษาจะได้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ | - |
dc.description.abstractalternative | Purpose : The study was an attempt of the author to construct a simulation in teaching problems concerning selection and utilization of Instructional Media and to seek out its effectiveness from a selected group of teacher students. Procedure : First, the development of simulation and simulation techniques were studied. Second, four selected teaching problems were chosen as follows: 1) Problems of Inappropriated Selection and Utilization of Instructional Media 2) Problems of Utilizing Instructional Materials 3) Problems of Utilizing Projected Equipments 4 Problems of Utilizing Resource Persons in the Community. Third, these problems are evaluated among the Committee for Simulation Model Production for an approval. Fourth, the models on each problem were produced on a set of slide-tape presentation, role-playing, written incident and video tape respectively. Finally, the complete models were validated by the Validating Committee followed by a trial with fifty randomly selected student teachers who had already taken a course in teaching methods in order to prove its effectiveness. Major Finding : Most students participated in the trial appreciated the advantages of the simulation models in providing pre-teaching experiences in solving teaching problems, they agree that these simulation models should be given to student teachers before starting their practice teaching in the real situations. Recommendation : The simulation models have proved to be effective in providing pre-student teaching experience. Teacher training colleges are encouraged to employ more of simulation technique in teaching of simulation and should be promoted for more effective simulation model in the future. | - |
dc.format.extent | 383223 bytes | - |
dc.format.extent | 1016605 bytes | - |
dc.format.extent | 1463535 bytes | - |
dc.format.extent | 508893 bytes | - |
dc.format.extent | 629209 bytes | - |
dc.format.extent | 326552 bytes | - |
dc.format.extent | 2000447 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การสอนด้วยสื่อ | en |
dc.title | การสร้างสถานการณ์จำลองปัญหา : การเลือกและใช้สื่อการสอน | en |
dc.title.alternative | Simulation in teaching problems : selection and utilization of instructional media | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | โสตทัศนศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Chanida_Ka_front.pdf | 374.24 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanida_Ka_ch1.pdf | 992.78 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanida_Ka_ch2.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanida_Ka_ch3.pdf | 496.97 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanida_Ka_ch4.pdf | 614.46 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanida_Ka_ch5.pdf | 318.9 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Chanida_Ka_back.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.