Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20522
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรัตน์ เพ็ชรศิริ-
dc.contributor.authorชนาภา ชอบพิเชียร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-07T04:38:07Z-
dc.date.available2012-07-07T04:38:07Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20522-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractแนวคิดการฎีกาคดีอาญาของประเทศไทยมีที่มาจากการทูลเกล้าฯ ถวายฎีกาขอพระราชทานความยุติธรรมจากพระมหากษัตริย์ในอดีต ส่งผลต่อการให้สิทธิแก่ประชาชนให้ได้รับการพิจารณาพิพากษาคดีอาญาสามชั้นศาล ดังที่ปรากฎในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา อันเป็นลักษณะของระบบการอุทธรณ์ฎีกาแบบสิทธิ แต่ระบบดังกล่าวก่อให้เกิดปัญหาคดีความค้างพิจารณาในศาลฎีกาเป็นจำนวนมาก จึงได้มีการบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 219 วรรคสอง ให้อำนาจแก่ศาลฎีกาในการปฏิเสธคดีอาญาซึ่งไม่เป็นสาระอันควรแก่การพิจารณา โดยมุ่งให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาคดีสำคัญ และแก้ไขปัญหาคดีค้างพิจารณาในศาลฎีกา จากการศึกษาพบว่า ระบบการปฏิเสธคดีอาญาซึ่งไม่เป็นสาระอันควรแก่การพิจารณา ไม่มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงระบบการอุทธรณ์ฎีกาจากระบบสิทธิเป็นระบบอนุญาต เนื่องจากคู่ความยังคงมีสิทธิฎีกาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเช่นเดิมทุกประการ นอกจากนี้ แม้การใช้ระบบการปฏิเสธคดีอาญามีผลดีในแง่ความคล่องตัวและความสะดวกของการปฏิบัติงานในศาลฎีกา แต่ก็มิได้ช่วยลดปริมาณคดีค้างพิจารณาเท่าที่ควร และก่อให้เกิดผลเสียต่อคู่ความและกระบวนการยุติธรรมทางอาญาหลายประการ อีกทั้งยังไม่สามารถตอบสนองต่อเจตนารมณ์การบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 219 วรรคสองได้ ดังนั้น การใช้ระบบการปฏิเสธคดีอาญาซึ่งไม่เป็นสาระอันควรแก่การพิจารณา จึงไม่เหมาะสมที่จะใช้คัดกรองคดีสำคัญเพื่อพิจารณาพิพากษา และแก้ไขปัญหาคดีค้างพิจารณาของศาลฎีกา แต่ควรเปลี่ยนแปลงรูปแบบการอุทธรณ์ฎีกาให้เป็นระบบอนุญาตอย่างเต็มรูปแบบ จึงจะเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างยั่งยืนen
dc.description.abstractalternativeConcept of criminal appeals of Thailand derives from historical process of submitting petitions to His Majesty the King praying for justice. At the present, parties in criminal lawsuits are able to appeal as a matter of right and the cases are heard by three court levels as guaranteed by Criminal Procedure Code. However, this system resulted in a severe Supreme Court caseload problem. Therefore, Section 219 Paragraph two of the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2550, which authorizes the Supreme Court to refuse to accept cases for adjudication in the cases where it considers that the criminal appeals are not essential as to warrant its consideration, is stated to grant the Supreme Court a discretionary power to accept important cases and resolve the caseload problem. The result obtained from the study shows that the rejection system of criminal appeals does not affect a change from ‘appeal as of right’ to ‘discretionary appeal’ system because parties in criminal lawsuits still have same right to appeal as stated in Criminal Procedure Code. However, the system is not an effective tool to decrease the caseload and it causes negative effects to parties of lawsuits and criminal justice system. Therefore, it is not suitable for screening cases to adjudicate and resolve the caseload problem in the Supreme Court but it should be altered to ‘discretionary appeal’ system in order to resolve the problem efficiently.en
dc.format.extent1552901 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.474-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิธีพิจารณาความอาญาen
dc.subjectอุทธรณ์en
dc.subjectศาลฎีกา-
dc.subjectCriminal procedure-
dc.subjectAppellate procedure-
dc.subjectSupreme courts-
dc.titleระบบการปฏิเสธคดีอาญาซึ่งไม่เป็นสาระอันควรแก่การพิจารณาในศาลฎีกาen
dc.title.alternativeRejection of criminal appeals which are not essential as to warrant consideration by the suppreme courten
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorApirat.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.474-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chanapa_ch.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.