Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21283
Title: | Design of heat exchanger networks and control structures for natural gas expander plant |
Other Titles: | การออกแบบข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนและโครงสร้างการควบคุมของโรงงานแก๊สธรรมชาติแบบขยายตัว |
Authors: | Uthai Gayapan |
Advisors: | Montree Wongsri |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | Montree.W@Chula.ac.th |
Subjects: | Chemical processes Chemical process control Heat exchangers Natural gas กระบวนการทางเคมี การควบคุมกระบวนการทางเคมี เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ก๊าซธรรมชาติ |
Issue Date: | 2008 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Energy recovery by heat exchanger network (HEN) is the important stage in chemical process. The energy integration causes to the interactions and may cause the process more difficult to control. Therefore, in order to achieve maximum energy recovery and keep target value at their desirable value, the resilient heat exchanger networks that can tolerate variations are important. Furthermore, the plantwide control strategies of the process should be considered. In this research, nine alternatives (8 new alternative designs and base case) of heat exchanger networks and three control structure designs of the natural gas expander plant are proposed. The resilient heat exchanger networks are designed using the disturbance load propagation method (Wongsri, 1990) and the control structures of HENs using the heat pathway heuristics (Wongsri and Hermawan, 2005). The plantwide control structures are designed by using Luyben heuristic design method (1999) for the CS1 control structure and Fixture point theorem (Wongsri, 2008) for the CS2 and CS3 control structure. The result shows the CS3 control structure can reject disturbances better than other control structures. The designed control structure is evaluated based on the rigorous dynamic simulation using the commercial software HYSYS |
Other Abstract: | การนำกลับคืนพลังงานโดยผ่านข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเป็นขั้นตอนที่สำคัญในกระบวนการเคมี การแลกเปลี่ยนพลังงานภายในกระบวนการจะทำให้เกิดผลกระทบซึ่งกันและกันภายในกระบวนการและอาจจะทำให้ก่อความยุ่งยากในการรักษาอุณหภูมิเป้าหมายอีกด้วย ดังนั้นเพื่อทำให้ข่ายงานบรรลุเป้าหมาย (อุณหภูมิเป้าหมายและการนำกลับคืนพลังงานสูงสุด) การออกแบบข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบยืดหยุ่นซึ่งสามารถจัดการกับความแปรปรวนที่เกิดขึ้นได้จึงเป็นสิ่งสำคัญ นอกจากนี้ควรพิจารณาการใช้กลยุทธ์การควบคุมแบบแพลนท์ไวด์ร่วมด้วย ในงานวิจัยนี้ ได้ทำการจำลองข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนจำนวน 9 ทางเลือก (ทางเลือกที่สร้างใหม่ 8 ทางเลือกกับทางเลือกฐาน) และออกแบบโครงสร้างการควบคุม 3 แบบของโรงงานแก๊สธรรมชาติ ออกแบบข่ายงานเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนแบบยืดหยุ่นโดยการใช้วิธีการถ่ายโอนความแปรปรวนของวงศ์ศรี (1990) และโครงสร้างการควบคุมของข่ายงานนี้ใช้ฮิวริสติกของวงศ์ศรี (1990) ส่วนการควบคุมแบบแพลนท์ไวด์จะใช้วิธีการออกแบบของ Luyben (1999) สำหรับโครงสร้าง CS1 และใช้ทฤษฎี “Fixture point” ของวงศ์ศรี (2008) ออกแบบโครงสร้าง CS2 และ CS3 ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าโครงสร้างการควบคุม CS3 สามารถปฏิเสธตัวรบกวนได้ดีกว่าโครงสร้างการควบคุมอื่น โครงสร้างการควบคุมที่ออกแบบนี้ได้ถูกประเมินค่าอย่างเข้มงวดโดยใช้โปรแกรมจำลองกระบวนการทางการค้าไฮซิส (HYSYS) |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2008 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21283 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
uthai_ga.pdf | 7.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.