Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21563
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีระ เทพบริรักษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-19T09:01:23Z-
dc.date.available2012-08-19T09:01:23Z-
dc.date.issued2520-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21563-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้ผู้วิจัยมีความประสงค์ที่จะสร้างแบบสอบทักษะกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายที่ใช้วัดความสามารถของผู้เล่นกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายได้ถูกต้องและแม่นตรง การดำเนินการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบซึ่งประกอบด้วยทักษะ 3 รายการ คือ ทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยเท้า ทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยเข่า ทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยศีรษะ และนำแบบสอบทักษะกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายไปสอบกับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 40 คน เพื่อหาค่าความเที่ยง (Reliability) ด้วยการสอบซ้ำโดยใช้วิธีของเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation) และความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) จากผลต่างของตำแหน่งของคะแนนของสเพียร์แมน (Spearman Rank Difference Correlation) ผลการวิจัยพบว่า ข้อทดสอบที่สร้างขึ้นมีความเที่ยงและความตรง สามารถวัดความสามารถของการเล่นตะกร้อได้ตามความมุ่งหมาย คือ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แห่งความเที่ยงของทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยเท้า เป็น .95 มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แห่งความเที่ยงของทักษะเลี้ยงตะกร้อด้วยเข่า เป็น .92 มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แห่งความเที่ยงของทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยศีรษะ เป็น .82 มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แห่งความเที่ยงของแบบสอบทักษะกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็น .95 มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แห่งความตรงตามสภาพของแบบสอบทักษะกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็น .85 มีนัยสำคัญที่ระดับ .01 จากข้อทดสอบนี้ผู้วิจัยได้นำแบบสอบไปสอบกับกลุ่มประชากร จำนวน 200 คน เพื่อตั้งระดับมาตรฐานของทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยเท้า ทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยเข่าทักษะการเลี้ยงตะกร้อด้วยศีรษะ และระดับความสามารถจากแบบสอบกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายโดยแบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ ดีมาก ดี ปานกลาง อ่อน และอ่อนมาก เพื่อเป็นแนวทางในการวัดทักษะกีฬาตะกร้อต่อไป-
dc.description.abstractalternativePurpose : The purpose of this study was to construct a Takrow Net Skill Test. The test consisted of foot dribbling, knee dribbling and head dribbling. Forty subjects were randomly selected for the test construction. It was found that, reliability of the foot dribbling knee dribbling, head dribbling and a Takrow Net Skill Test were .95, .92, .82 and .95 respectivly at significance level of .01. The concurrent validity of a Takrow Net Skill Test was .85 at the significance level of .01. Two hundred students were selected to be the subject for the five levels of ability classification; i.e. superior, good, average, inferior and poor.-
dc.format.extent530444 bytes-
dc.format.extent671737 bytes-
dc.format.extent594793 bytes-
dc.format.extent501659 bytes-
dc.format.extent344223 bytes-
dc.format.extent1130304 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการสร้างแบบสอบทักษะกีฬาตะกร้อข้ามตาข่ายen
dc.title.alternativeConstruction of Takrow Net Skill Testen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weera_Th_front.pdf518.01 kBAdobe PDFView/Open
Weera_Th_ch1.pdf655.99 kBAdobe PDFView/Open
Weera_Th_ch2.pdf580.85 kBAdobe PDFView/Open
Weera_Th_ch3.pdf489.9 kBAdobe PDFView/Open
Weera_Th_ch4.pdf336.16 kBAdobe PDFView/Open
Weera_Th_back.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.