Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21988
Title: | War and politics in mid-19th Centuy Siam and Burma : the historical context of the Chiang Tung wars |
Other Titles: | สงครามและการเมืองในสยามและพม่ากลางศตวรรตที่ 19 : บริบททางประวัติศาสตร์ของศึกเชียงตุง |
Authors: | Smith, John Sterling Forssen |
Advisors: | Sunait Chutintaranond |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | Sunait.C@Chula.ac.th |
Subjects: | Chiang Tung wars Tai (Southeast Asian people) Thailand -- History Burma -- History สงครามเชียงตุง ชาวไท ไทย -- ประวัติศาสตร์ พม่า -- ประวัติศาสตร์ ไทย -- ประวัติศาสตร์|yกรุงรัตนโกสินทร์ -- สงครามกับพม่า |
Issue Date: | 2011 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | To examine the Chiang Tung wars, a series of conflicts that occurred in the Tai principalities of the upper Mekong and Lan Na from 1802 to 1854, and demonstrates their significance within the 19th century history of the Tai principalities. These conflicts had their origins in three regional conflicts, namely, the restoration of the principalities of Lan Na, the dynastic politics of the Sipsongpanna, and the long political and military rivalry of Siam and Burma. Making use of Tai, Burmese, and Siamese as well as western sources, this paper traces the relations between the Tai principalities, as well as between the individual principalities and the regional powers of Siam, Burma, China, and the British Tennasserim, over the course of the conflict. The final Chiang Tung War, fought from 1852 to 1854, was the only direct conflict between Siamese and Burmese forces in the 19th century, and marked a turning point in Siam's policy towards its tributaries, with the Siamese and Burmese rulers campaigning to, respectively, expand and consolidate their political domains, in indirect competition with the increasingly aggressive British. |
Other Abstract: | ศึกษาศึกเชียงตุงซึ่งเป็นเรื่องราวของความขัดแย้งที่เกิดขึ้น ในดินแดนภายใต้การปกครองของชาวไทเหนือแม่น้ำโขงและล้านนา ระหว่างปีคริสต์ศักราช 1802 ถึง 1854 ตลอดจนนัยยะสำคัญทางประวัติศาสตร์ภายใต้การปกครองของชาวไท โดยที่มาของความขัดแย้งครั้งนี้ สามารถแบ่งได้เป็นสามประการ ได้แก่ การฟื้นฟูการปกครองของล้านนา ราชวงศ์และการเมืองของสิบสองปันนา และการแข่งขันทางการเมืองการทหารระหว่างสยามกับพม่าที่ยาวนาน โดยใช้ข้อมูลทั้งจากไท พม่า และสยาม ตลอดจนข้อมูลจากชาติตะวันตก งานวิทยานิพนธ์นี้ได้ตามรอยความสัมพันธ์ของดินแดนต่างๆ ภายใต้การปกครองของไท ตลอดจนดินแดนที่อยู่ภายใต้การปกครองและอำนาจสยาม พม่า จีน และอาณานิคมของอังกฤษ ในช่วงเวลาของความขัดแย้งดังกล่าว โดยในศึกเชียงตุงครั้งสุดท้ายระหว่างปีคริสต์ศักราช 1852 ถึง 1854 เกิดจากความขัดแย้งโดยตรงระหว่างสยามกับพม่าในช่วงศตวรรษที่ 19 ซึ่งนับเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญทางด้านนโยบายของสยามเกี่ยวกับอาณาเขตการปกครอง ทั้งนี้ ผู้ปกครองของทั้งสยามและพม่าต่างพยายามขยายและรวบรวมอาณาเขตทางอำนาจของตน ซึ่งต่อสู้อย่างอ้อมๆ กับความแข็งกร้าวของอังกฤษที่เพิ่มขึ้น |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2011 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Southeast Asian Studies (Inter-Department) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21988 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1622 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2011.1622 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
john sterling forssen_sm.pdf | 1.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.