Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2286
Title: | วิธีการดีคอรีเลชันของสัญญาณสเตริโอสำหรับการกำจัดสัญญาณเสียงสะท้อนแบสเตริโอโดยการเพิ่มสัญญาณรบกวนแบบปรับตัวได้ |
Other Titles: | Signal decorrelation technique for stereophonic acoustic echo cancellation using adaptive noise addition |
Authors: | พิมผกา สุรินทร์, 2520- |
Advisors: | นิศาชล ตั้งเสงี่ยมวิสัย สุภาวดี อร่ามวิทย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Nisachon.T@chula.ac.th Supavadee.A@chula.ac.th |
Subjects: | ระบบเสียงสเตริโอ การบีบอัดเสียงสะท้อน (โทรคมนาคม) วงจรกรองแบบปรับตัว |
Issue Date: | 2547 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ในวิทยานิพนธ์นี้ได้นำเสนอวิธีการดีคอรีเลชันสัญญาณสเตริโอโดยการเพิ่มสัญญาณรบกวนแบบปรับตัวได้ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนค่าไปตามลักษณะของสัญญาณเสียงพูดขาเข้าเพื่อให้สามารถลดสหสัมพันธ์ของสัญญาณเสียงสเตริโอลงได้ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพสัญญาณเสียงของสัญญาณที่ถูกดีคอรีเลชัน ผลจากการดีคอรีเลชันสัญญาณสเตริโอทำให้ระบบ SAEC สามารถประมาณค่าวิถีสะท้อนทางเสียงได้ใกล้เคียงมากขึ้น ดังผลการทดสอบของระบบ SAEC ทั้งในด้านของผลที่เป็นตัวเลขชี้วัดและผลการทดสอบฟังคุณภาพเสียง ทั้งนี้วิธีดีคอรีเลชันที่นำเสนอยังมีความซับซ้อนในการคำนวณต่ำ นอกจากนี้วิทยานิพนธ์นี้ยังศึกษาถึงความเป็นไปได้ในการนำระบบ SAEC และวิธีดีคอรีเลชันสัญญาณสเตริโอที่นำเสนอ ไปประยุกต์ใช้กับระบบการสื่อสารที่มีการเข้ารหัสและถอดรหัสสัญญาณเสียงด้วยมาตรฐาน G723.1 ผลการจำลองระบบดังกล่าวบนคอมพิวเตอร์พบว่า ระบบ SAEC สามารถทำงานได้ดีเช่นเดียวกับเมื่อไม่มีการเข้ารหัสและถอดรหัสสัญญาณเสียง |
Other Abstract: | This thesis presents a new signal decorrelation technique, based upon adaptive noise addition. The added noise level is adjusted according to the characteristics of the speech inputs so that the quality of the decorrelated stereo speech signals is kept undisturbed. Therefore, the performance of an SAEC system can be improved by employing the adaptive noise addition technique. Test results on recorded speech signals indicate improved performance in both objective and subjective manners. In addition, the computational complexity for the proposed technique is insignificant as compared to the whole system. Furthermore, this SAEC system with the proposed decorrelation technique is applied to a communication system with G723.1 speech codec. Simulation results demonstrate well-behaved performance of the SAEC system as well as in the case without speech codec. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมไฟฟ้า |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2286 |
ISBN: | 9741764227 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pimphaka.pdf | 1.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.