Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประชุมสุข อาชวถำรุง
dc.contributor.authorอำพล สงวนศิริธรรม
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-10-27T04:37:04Z
dc.date.available2012-10-27T04:37:04Z
dc.date.issued2518
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22860
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2518en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยมีการฝึกสมาธิและนักเรียนที่เรียนโดยมิได้มีการฝึกสมาธิในวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สังคมศึกษา วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ พลานามัย ศิลปศึกษา และรวมทุกวิชา ตัวอย่างประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หก โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2517 อายุระหว่าง 9 ถึง 12 ปี จำนวน 56 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ได้กลุ่มตัวอย่าง 4 กลุ่มคือนักเรียนที่มิได้ฝึกสมาธิระยะสามเดือน แต่ละกลุ่มมีจำนวน 14 คน โดยเป็นนักเรียนชายและหญิงอย่างละ 7 คน ดำเนินการทดลองในห้องปรับอากาศในตอนเช้าก่อนเข้าเรียนตามปกติ รวมเวลาทดลอง 49 วัน แบบของการวิจัยเป็นการวิเคราะห์เชิงตัวประกอบ 2X4 โดยมีเพศและการฝึกสมาธิเป็นตัวแปรต้น และคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นตัวแปรตาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม พบว่านักเรียนชายที่ฝึกสมาธิมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีกว่านักเรียนชายที่มิได้ฝึกสมาธิในวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01, .05, และ .01 ตามลำดับ นักเรียนชายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพลานามัยดีกว่านักเรียนหญิงอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 นอกจากนี้ยังพบอีกว่าการฝึกสมาธิไม่ทำให้สมรรถภาพทางสมองของนักเรียนเปลี่ยนไปจากเดิม และนักเรียนที่ฝึกสมาธิส่วนใหญ่สามารถฝึกสมาธิได้ มีความรู้สึกในแง่ดี และเห็นประโยชน์ของการฝึกสมาธิ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare the academic achievement of meditating and non-meditating students in English, Thai, social studies, science, mathematics, health and physical education, art, and collectively. The sample study in this research consisted of fifty-six sixth graders, age nine to twelve students of Chulalongkorn University Elementary Demonstration School during the academic year 1974. The meditation was held at the Information Center, Faculty of Education, Chulalongkorn Unviersity for forty-nine days. In analyzing the scores, 2x4 factorial design was used with sex and meditations as independent variables and academic achievements as dependent variable. The data were analyzed by means of the analysis of covariance. The findings of this study indicates that boys who meditated had academic achievement significantly higher than non-meditating boys in English, Thai, and science (0.1, .05, and .01 level of significance respectively). The health and physical educational achievement of boys was significantly higher than that of girls at the .05 level of significance. Practice meditation did not change the mental ability of the students. Students who meditated felt happy and comfortable during their meditation and had good attitude towards meditation.
dc.format.extent469707 bytes
dc.format.extent579231 bytes
dc.format.extent1688776 bytes
dc.format.extent657422 bytes
dc.format.extent1040999 bytes
dc.format.extent336233 bytes
dc.format.extent929614 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleอิทธิพลของการฝึกสมาธิที่มีต่อผลสัมฤทธิ์en
dc.title.alternativeThe influence of meditation on achievementen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ampol_Sn_front.pdf458.7 kBAdobe PDFView/Open
Ampol_Sn_ch1.pdf565.66 kBAdobe PDFView/Open
Ampol_Sn_ch2.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open
Ampol_Sn_ch3.pdf642.01 kBAdobe PDFView/Open
Ampol_Sn_ch4.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open
Ampol_Sn_ch5.pdf328.35 kBAdobe PDFView/Open
Ampol_Sn_back.pdf907.83 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.