Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24324
Title: | การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเอกลักษณ์บทบาททางเพศ ของวัยรุ่นกับเอกลักษณ์บทบาททางเพศของพ่อแม่ ตามการรับรู้ของตนเอง |
Other Titles: | The study of the relationship between sex role identity of the adolescence and sex role identity of their parents as perceived by themselves |
Authors: | วรรณภา เพชราพันธ์ |
Advisors: | ประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาจิตวิทยา |
Issue Date: | 2534 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างเอกลักษณ์บทบาททางเพศของวับรุ่นกับเอกลักษณ์บทบาททางเพศของพ่อแม่ตามการรับรู้ของเด็ก ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กชายที่มีเอกลักษณ์บทบาททางเพศลักษณะโดรจีนีและเอกลักษณ์บทบาททางเพศลักษณะความเป็นชายจะมีลักษณะบทบาททางเพศแบบเดียวกับพ่อมากกว่าลักษณะบทบาททางเพศแบบเดียวกับแม่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) 2. เมื่อพ่อมีบทบาททางเพศลักษณะความเป็นชายและแม่มีบทบาททางเพศลักษณะความเป็นหญิง เด็กหญิงมีบทบาททางเพศลักษณะความเป็นหญิงไม่แตกต่างจากเด็กหญิงที่มีบทบาททางเพศลักษณะโดรจีนี ลักษณะความเป็นชาย และลักษณะที่ไม่ชัดเจนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. เด็กที่พ่อแม่มีบทบาททางเพศลักษณะโดรจีนีทั้งคู่จะมีบทบาททางเพศลักษณะแอนโดรจีนีมากกว่าบทบาททางเพศลักษณะอื่นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) |
Other Abstract: | The purpose of this was to study the relationships between sex role identity of the adolescence and sex role identity of their parents as perceived by themselves The results of this study were as follows : 1. Sex-role identity of an androgynous and masculine boys were more significantly similar to their father's than to their mother's ones. (P < 0. 001) 2. If the father' s and the mother' s sex role identities were classified as masculine and feminine respectively, then sex-role identities of the girl were feminine which were not differ significantly from androgynous, masculine and undifferntiated groups . 3. If both parents were androgynous then the children were significantly more androgynous than the other sex-role identity groups. (P < 0. 001) |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534 |
Degree Name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | จิตวิทยา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24324 |
ISBN: | 9745791393 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wannapa_ph_front.pdf | 3.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannapa_ph_ch1.pdf | 18.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannapa_ph_ch2.pdf | 8.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannapa_ph_ch3.pdf | 5.92 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannapa_ph_ch4.pdf | 4.27 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannapa_ph_ch5.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wannapa_ph_back.pdf | 12.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.