Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24468
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทิศนา แขมมณี | |
dc.contributor.author | สมพิศ สุขวิฑูรย์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | |
dc.date.accessioned | 2012-11-17T13:59:19Z | |
dc.date.available | 2012-11-17T13:59:19Z | |
dc.date.issued | 2519 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24468 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2519 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษเรื่อง “การใช้คำนำหน้านาม” สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ห้า พร้อมทั้งหาประสิทธิภาพของบทเรียนตามเกณฑ์มาตรฐาน 90/90 ซึ่ง 90 ตัวแรก หมายถึงการที่นักเรียนสามารถตอบคำถามในบทเรียนแบบโปรแกรมได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 90 90 ตัวหลัง หมายถึงการที่นักเรียนทำแบบสอบภายหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรมได้ถูกต้องโดยเฉลี่ยร้อยละ 90 วิธีดำเนินการวิจัย 1. ศึกษาและค้นคว้าเกี่ยวกับบทเรียนแบบโปรแกรม ตลอดจนเทคนิคการสร้างบทเรียน 2. รวบรวมเนื้อหาและสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมตามจุดมุ่งหมายเชิงพฤติกรรม 3. หาค่าระดับความยาก ค่าอำนาจจำแนก และค่าความเที่ยงของแบบสอบที่นำไปทดสอบนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรม 4. นำบทเรียนแบบโปรแกรมไปทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ห้า โรงเรียนวัดด่านสำโรง อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ โดยทดลองแบบหนึ่งต่อหนึ่ง แบบกลุ่มเล็ก 10 คน และทดลองภาคสนาม 100 คน ผลการทดลอง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลปรากฏว่า บทเรียนแบบโปรแกรมที่สร้างขึ้นนี้มีประสิทธิภาพ 91.33/84.05 คือนักเรียนสามารถตอบคำถามในบทเรียนได้โดยเฉลี่ยร้อยละ 91.33 และทำแบบสอบภายหลังเรียนบทเรียนแบบโปรแกรมได้โดยเฉลี่ย 84.05 ซึ่งนับว่านักเรียนตอบคำถามในบทเรียนได้สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวแรก แต่ทำแบบสอบได้ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 90 ตัวหลังเล็กน้อย อย่างไรก็ตาม เมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนก่อนเรียนบทเรียนและหลังเรียนบทเรียน ปรากฏว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .01 แสดงว่า บทเรียนนี้ช่วยให้นักเรียนมีความรู้เพิ่มขึ้น ข้อเสนอแนะ เนื่องจากบทเรียนแบบโปรแกรมสามารถนำไปใช้ได้ผลดี จึงควรจะสนับสนุนให้มีการสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมนี้อย่างกว้างขวางในเรื่องต่างๆ และในสาขาวิชาอื่นๆ ทั่วไป | |
dc.description.abstractalternative | State of the Problem The purpose of this research was to construct an English Programed Lesson on “Articles” for Prathom Suksa Five and to find out its effectiveness which is based on the 90/90 Standard. The first 90 means that the students must be able to make the average score of 90 percent on the programed lesson and the second 90 means that the students must be able to make the average score of 90 percent on the post –test. Procedures 1. The research on programmed instructions and techniques in constructing a program was made. 2. The subject matter on “Articles” was selected to be Programmed and the programmed lesson was constructed according to the behavioral objectives. 3. The pre-and post-tests were tested for its level of difficulty, the power of discrimination and the reliability. 4. The program was tried out with Prathom Suksa five students of Wat Dansamrong School, Samuth Prakarn Province. There were three try-outs: one-to-one testing, small-group testing and field testing. Results Analysis of the data indicates that the programmed lesson meets the 90/90 standard at the level of 91.33/84.05. The students could make the average score of 91.33 percent from the program, and the average score of 84.05 percent from the post-test. Although the result of the post-test is a little lower than the second 90 standard, the arithmetic mean (X ̅ ) of the pre-test and post-test is significantly different at the level of .01. This evidence shows that the students learning has been increased significantly by the programmed lesson. Recommendation As this programmed lesson could be used satisfactorily, a construction of more programs in other topics and other fields should be encouraged. | |
dc.format.extent | 433380 bytes | |
dc.format.extent | 704176 bytes | |
dc.format.extent | 2181118 bytes | |
dc.format.extent | 1781326 bytes | |
dc.format.extent | 594288 bytes | |
dc.format.extent | 448910 bytes | |
dc.format.extent | 2509417 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษเรื่อง "การใช้คำนำหน้านาม" สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ห้า | en |
dc.title.alternative | Construction of an English programmed lesson on "Articles" for prathom suksa five | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ประถมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sompis_Su_front.pdf | 423.22 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompis_Su_ch1.pdf | 687.67 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompis_Su_ch2.pdf | 2.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompis_Su_ch3.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompis_Su_ch4.pdf | 580.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompis_Su_ch5.pdf | 438.39 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Sompis_Su_back.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.