Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24538
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | แสงสันต์ พาณิช | - |
dc.contributor.advisor | วิระ มาวิจักขณ์ | - |
dc.contributor.author | วรรณะ วิมลพันธุ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-19T07:30:41Z | - |
dc.date.available | 2012-11-19T07:30:41Z | - |
dc.date.issued | 2535 | - |
dc.identifier.isbn | 9745812129 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24538 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535 | en |
dc.description.abstract | จากการลดลงเป็นปริมาณมากของบรรยากาศชั้นโอโซนโดยเฉพาะที่บริเวณขั้วโลก ทั้งนี้มีสาเหตุมาจากอนุภาคของคลอรีนที่อยู่ในบรรยากาศ ซึ่งส่วนใหญ่มาจากสารคลอโรฟลูโอโรคาร์บอนที่ใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ และฮาลอนที่ใช้เป็นสารดับเพลิง ประเทศไทยก็มีการใช้สารดังกล่าวด้วยเช่นกันและเนื่องจากประเทศไทยเป็นสมาชิกของพิธีสารมอนทรีออลจึงต้องมีการดำเนินการลดและควบคุมปริมาณการใช้สารดังกล่าวตามที่พิธีสารมอนทรีออลกำหนด จากการสำรวจปริมาณการใช้สารคลอโรฟลูโอโรคาร์บอนและฮาลอนในอุตสาหกรรมต่างๆ จากแบบสอบถามพบว่าปริมาณการใช้ยังไม่เกิน 0.3 กก./คน/ปี และพบว่าโรงงานอุตสาหกรรมบางโรงงาน (จากการศึกษาโรงงานตัวอย่าง) ได้มีการดำเนินการลดการใช้สารคลอโรฟลูโอโรคาร์บอนและฮาลอน ซึ่งเทคโนโลยีที่นำมาใช้บางอย่างก็ได้ผลเช่น การใช้ Recycling Machine ในอุตสาหกรรมอิเลคทรอนิคส์และในเครื่องปรับอากาศติดรถยนต์ซึ่งสามารถลดปริมาณการใช้สารดังกล่าวได้มากกว่า 50% ส่วนการใช้สารทดแทนในส่วนของฮาลอนที่ใช้เป็นสารดับเพลิง สามารถนำเอาโมโนแอมโมเนียฟอสเฟต (dry chemical) มาใช้แทนได้ (ในส่วนของฮาลอนที่ใช้เป็นสารดับเพลิงทั่วไป)และการใช้ Deionize Water (cleaning solvent) ในอุตสาหกรรมการทำแผงวงจรอิเลคทรานิคส์ (Through Hole Assembly) แต่การใช้สารทดแทนบ่างอย่าง เช่น IPA (cleaning solvent) ในอุตสาหกรรมผลิตแผงวงจรอิเลคทรอนิคส์และ HFC-134a ในอุตสาหกรรมผลิตตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศยังไม่สามารถนำมาใช้ได้ตอนนี้ เนื่องจากมีเทคโนโลยียังไม่เพียงพอต้องรอการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัทแม่จากต่างประเทศ แต่ในอนาคตคงจะสามารถนำมาใช้ทดแทนการใช้สารสารคลอโรฟลูโอโรคาร์บอนได้อย่างสิ้นเชิง | - |
dc.description.abstractalternative | The reduction of the ozone layer, especially at the pole, is the result from the chlorine radicals in the atmosphere from chlorofluorocarbon (CFC) used in many industries and halon used in fire extinguishers. Thailand is a member of Montreal Protocol, so it must control CFC usages in accordance with Montreal Protocol's This regulation study estimated the amount of CFC and halon used in industries by questionnaires during 1990 in comparison with 1986 data The per capita use of CFC, is less than 0.3 kg/capita/yr, and some industries from case study has the ability to reduce CFC and halon usages. Some technologies such as recycling machine used in electronic industries and car air conditioners can reduce CFC usages more than 50%. The substitute substances for halon such as Monoammoniumphosphate (dry chemical) and for CFC such as Deionize Water (cleaning solvent) in electronic industry (through hole assembly) are promising other substitutes such as IPA in electronic industries and HFC-134a in refrigeration and air conditioners have not been successful because of lacking of technology, so technology transfer from 110ther companies is needed. | - |
dc.format.extent | 3334094 bytes | - |
dc.format.extent | 1618471 bytes | - |
dc.format.extent | 10406697 bytes | - |
dc.format.extent | 1884835 bytes | - |
dc.format.extent | 12103323 bytes | - |
dc.format.extent | 4723216 bytes | - |
dc.format.extent | 1531243 bytes | - |
dc.format.extent | 9062483 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การสำรวจและวิเคราะห์การใช้คลอโรฟลูโอโรคาร์บอนและฮาลอนในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Survey and analysis of usage of chlorofluorocarbons and halons in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wanna_vi_front.pdf | 3.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wanna_vi_ch1.pdf | 1.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wanna_vi_ch2.pdf | 10.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wanna_vi_ch3.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wanna_vi_ch4.pdf | 11.82 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wanna_vi_ch5.pdf | 4.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wanna_vi_ch6.pdf | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wanna_vi_back.pdf | 8.85 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.