Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26073
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกฤษณา เพ็ชรรัตน์-
dc.contributor.advisorชวลิต ทิสยากร-
dc.contributor.authorวิไลพร ธรรมเนียมอินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-26T05:43:31Z-
dc.date.available2012-11-26T05:43:31Z-
dc.date.issued2524-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26073-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractในการศึกษาลักษณะของข้อมูลที่มีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) นั้น เรามักจะเริ่มต้นด้วยการสร้างกราฟอิสโตแกรมของข้อมูล เพื่อดูลักษณะการแจกแจงของข้อมูลโดยคร่าว ๆ เสียก่อน แล้วคำนวณหาค่าพารามิเตอร์ของข้อมูลโดยใช้สูตร µ = (สมการ) และσ= (สมการ) จากนี้จึงจะคำนวณหาค่า X² จากสูตร X² = (สมการ) ซึ่ง O [subscript i]เป็นค่าความถี่ในช่วงที่ i ของข้อมูล (observed Frequency) E[subscript i]เป็นค่าคาดหวังของข้อมูล (Expected Frequency) และ E[subscript i]= (สมการ) ขั้นตอนการคำนวณหาพารามิเตอร์ของข้อมูลดังกล่าวข้างบนนี้เป็นวิธีมาตรฐานที่ใช้กันโดยแพร่หลาย (Convention Method) ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่า “การทดสอบภาวะสารูปสนิทดี” (Goodness of fit test) และเป็นที่ทราบกันดีว่าเมื่อค่า X² ที่คำนวณได้นี้มีค่ายิ่งต่ำยิ่งดี เพราะหมายถึงว่าO [subscript i]เป็นจะเข้าใกล้ E[subscript i] มากที่สุดด้วย และโอกาสที่ค่า X² ที่คำนวณได้นี้จะต่ำกว่าค่า X² ที่เปิดจากตารางย่อมจะมีมากขึ้นด้วย นั่นคือ จะช่วยลดความผิดพลาดแบบที่ 1(Type – I – Error) ให้น้อยลงได้ วิทยานิพนธ์ฉบับนี้แสดงถึงการใช้ Univariate Search (เป็น Optimization Technique วิธีหนึ่งที่รู้จักกันเป็นที่แพร่หลาย) คำนวณหาค่าประมาณของพารามิเตอร์…..และ S* ที่จะให้ค่า X² ต่ำสุดได้ และจากการทดลองใช้ Univariate Search กับข้อมูลที่มีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ซึ่งสุ่มตัวอย่างมาจำนวน 80 ชุดนั้นเราพบว่ามีจำนวนความผิดพลาดแบบที่ 1 (Type - I - Error) ได้ลดลงตามต้องการ เป็นที่น่าสนใจว่า X² (X‾ *, S*) ต่ำสุดที่คำนวณได้นี้ จะมีผลกระทบต่อคุณภาพของประชากรหรือไม่ ซึ่งวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้ใช้ t – test ทำการทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวประมาณค่าของพารามิเตอร์ (X‾ *, S*) และตัวพารามิเตอร์ (µ ,σ ) ของประชากรเดิมปรากฏผลไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ-
dc.description.abstractalternativeIn conducting a study on Normal Distribution Data, we normally begin by drafting a rough histogram of the data. Then, we proceed to compute important parameters of the data utilizing formula µ =(equation) And σ=(equation)From here on, we also compute X² from X²=(equation) where O [subscript i]represents 0bserved Frequency of the ith. Interval, E[subscript i]is the Expected Frequency and E[subscript i]= (สมการ) The above conventional Procedures are employed to compute parameters of the Normal Distribution Data under studied and is called “Goodness of Fit Test”. It is well known that this conventional X² indicates how O [subscript i] approades E[subscript i] which also implies reducing Type-I-Error. In other words,lower X² value is always preferred. This thesis showed how to use a popular optimization technique named “Univariate Search” in computing X‾* and S* which yields minimized X² About 80 sets Computer Generated Normal Distribution Data has been tested by Univariated Search Technique. Type-I-Error is found to decrease as desired. By using Student t-test, research results indicate no significant deviation between estimated (X‾* , S*) and (µ , σ) of the assumed main population.-
dc.format.extent454092 bytes-
dc.format.extent705613 bytes-
dc.format.extent814049 bytes-
dc.format.extent683174 bytes-
dc.format.extent967228 bytes-
dc.format.extent282123 bytes-
dc.format.extent2146700 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบวิธีประมาณค่าพารามิเตอร์ ในฟังก์ชั่นการแจกแจงแบบปกติที่ค่าไคสแควร์ จากการทดสอบสภาวะสาสารูปสนิทดีมีค่าต่ำสุดen
dc.title.alternativeA comparative study on the methods of estimating parameters of the normal distribution giving minimal chisquare (X2) value in the goodness of fit testen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wilaiporn_Th_front.pdf443.45 kBAdobe PDFView/Open
Wilaiporn_Th_ch1.pdf689.08 kBAdobe PDFView/Open
Wilaiporn_Th_ch2.pdf794.97 kBAdobe PDFView/Open
Wilaiporn_Th_ch3.pdf667.16 kBAdobe PDFView/Open
Wilaiporn_Th_ch4.pdf944.56 kBAdobe PDFView/Open
Wilaiporn_Th_ch5.pdf275.51 kBAdobe PDFView/Open
Wilaiporn_Th_back.pdf2.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.