Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27185
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิพันธ์ วีเชียรน้อย
dc.contributor.authorวีรนิต ฐานสุพร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-30T06:23:25Z
dc.date.available2012-11-30T06:23:25Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745777439
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27185
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en
dc.description.abstractเขตมีนบุรี เป็นเขตชานเมืองทางด้านตะวันออกของกรุงเทพมหานคร ซึ่งมีการใช้ที่ดินหลักคือการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร และมีพื้นที่ประมาณร้อยละ 61 ของพื้นที่เขต อยู่ในพื้นที่ที่เรียกว่า พื้นที่สีเขียวซึ่งมีมาตรการควบคุมการก่อสร้าง แต่ในปัจจุบันการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย อุตสาหกรรม และการใช้ที่ดินประเภทอื่น ๆ เช่น การจัดสรรสวนเกษตร สนามกอล์ฟ ฯลฯ ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ดังนั้นเขตมีนบุรีจึงได้รับผลกระทบจากการขยายตัวของกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การขยายตัวทางด้านประชากรและพื้นที่เมือง ซึ่งเป็นผลให้พื้นที่เกษตรลดลงอย่างต่อเนื่อง และจากการศึกษาการเปลี่ยนแปลงพื้นที่เกษตรกรรม ในช่วงปี พ.ศ.2517-2531 พบว่า พื้นที่เกษตรกรรมลดลงร้อยละ 23.53 ซึ่งมีแนวโน้มของพื้นที่เกษตรยังคงลดลงต่อไป ในการศึกษาแนวโน้มการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัยและอุตสาหกรรม ได้พิจารณาจาก สภาพการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ทั้งในด้านการใช้ที่ดิน ด้านประชากร รวมทั้งการขยายตัวของที่อยู่อาศัยและโรงงานอุตสาหกรรม ศึกษาและวิเคราะห์ปัจจัยที่สนับสนุนและปัจจัยที่สนับสนุนและปัจจัยที่เป็นข้อจำกัดที่มีผลต่อแนวโน้มการใช้ที่ดิน วิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่วิธี Potential Surface Analysis (PSA) จากการศึกษาและวิเคราะห์แนวโน้มของการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัย จะมีการขยายตัวเหมือนกับที่ผ่านมาคือ จะเพิ่มขึ้นในแขวงมีนบุรี แขวงบางชัน เป็นส่วนใหญ่ ตามแนวถนนสายหลักและสายรองต่าง ๆ เช่น ถนนสุขาภิบาล 3 ถนนรามอินทรา ถนนพระยาสุเรนทร์ เป็นต้น ในลักษณะของโครงการหมู่บ้านจัดสรรมากกว่าที่จะดำเนินการก่อสร้างเอง ส่วนแนวโน้มของการใช้ที่ดินเพื่ออุตสาหกรรมนั้น โรงงานอุตสาหกรรมที่จะขยายตัวมายังเขตมีนบุรี จะถูกจำกัดทั้งในด้านพื้นที่และประเภทอุตสาหกรรม เนื่องจากปัจจัยที่สำคัญคือ ข้อกำหนดทางกฎหมาย ยกเว้นโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท สำหรับการวางแผนการใช้ที่ดินเพื่อพัฒนาเขตมีนบุรี ได้กำหนดเป้าหมายหลัก 2 ประการคือ อนุรักษ์พื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับการเกษตร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่สีเขียว และพัฒนาพื้นที่นอกพื้นที่สีเขียวภายในคันกั้นน้ำ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมือง
dc.description.abstractalternativeMinburi District is a suburban area in the east of Bangkok Metropolis. The major landuse is agriculture. Under the building control code, 61 % of this district area is zoned as green belt. However, this land has been devoted to residential, industrial, agricultural land sub divisions and golf courses. At present, this district is receiving the effects of Bangkok’s expansion and the total agricultural area of this district has been decreasing. To study the trends of residential and industrial landuse, this research focused on the changes in Minburi regarding landuse and population as well as on the growth of residences and factories. The factors supporting or inhibiting the landuse trend were investigated. Potential Surface Analysis (PSA) was selected to indicate the potential of the area. The thesis concludes that of the agricultural area was reduced by 23.52 % in the period of 1974 – 1988 and such a trend is likely to continue. In the future Minburi and Bangchan Sub-District will be the main growth areas, along the main roads such as Sukaphiban 3, Ram Indra, and Prayasurane Road, etc. Most growth will be in the form of land sub-division for housing projects rather than construction by individual owners themselves. According to the results of the industrial landuse study the trend of industrial growth will be inhibited regarding size and type of industry due to prescriptions according to landuse and building controls. Urban growth in this district will eventually cease except for the same type of factories as already exist in the area. The landuse planning of the district has 2 majors objectives. Firstly to maintain the conservation area which is suitable for agriculture, especially in the green belt. Secondly to develop the area outside the green belt, within the dam boundary to serve urban growth.
dc.format.extent3505985 bytes
dc.format.extent1922115 bytes
dc.format.extent3969201 bytes
dc.format.extent27926976 bytes
dc.format.extent16853773 bytes
dc.format.extent6286776 bytes
dc.format.extent3731173 bytes
dc.format.extent5239820 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการศึกษาแนวโน้มการใช้ที่ดินเพื่ออยู่อาศัยและอุตสาหกรรม ในเขตมีนบุรีen
dc.title.alternativeA study land use of resisenteail and industrial area in Min Buri districten
dc.typeThesises
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวางแผนภาคและเมือง
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weranit_th_front.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open
Weranit_th_ch1.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open
Weranit_th_ch2.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open
Weranit_th_ch3.pdf27.27 MBAdobe PDFView/Open
Weranit_th_ch4.pdf16.46 MBAdobe PDFView/Open
Weranit_th_ch5.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open
Weranit_th_ch6.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open
Weranit_th_back.pdf5.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.