Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27727
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorแรมสมร อยู่สถาพร
dc.contributor.advisorสมพงษ์ จิตระดับ
dc.contributor.authorศิริพร คูภิรมย์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-12-15T07:44:07Z
dc.date.available2012-12-15T07:44:07Z
dc.date.issued2527
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27727
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หก ซึ่งสอนด้วยกิจกรรมคัดสรรกับกิจกรรมตามแผนการสอนปกติ วิธีการดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยได้สร้างเครื่องมือสำหรับใช้ในการวิจัยคือ 1. แบบสอนระดับการให้เหตุผลเชิงจริยธรรม ของนักเรียนในระดับประถมศึกษาปีที่ 6 ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 ท่าน นำไปทดลองใช้กับนักเรียนที่ไม่ใช่ตัวอย่างประชากร เพื่อหาค่าความเสี่ยงโดยใช้สูตรหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ความเที่ยง 0.793 2. แผนการสอนโดยใช้กิจกรรมคัดสรร กับกิจกรรมตามแผนการสอนปกติรวม 14 แผน ได้รับการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 ท่าน ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2527 โรงเรียนวัดสารอด สังกัดกรุงเทพมหานคร เขตราษฎร์บูรณะ ที่มีอายุระหว่าง 11-13 ปี และการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมอยู่ในชั้นที่ 3 จำนวน 30 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่าย แบ่งตัวอย่างปะชากรออกเป็นกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ผู้วิจัยเป็นผู้ดำเนินการสอน กลุ่มทดลองด้วยกิจกรรมคัดสรร กลุ่มควบคุมด้วยกิจกรรมตามแผนการสอนปกติ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ทดสอบสอนตัวอย่างประชากรทั้งสองกลุ่มนำคะแนนที่ได้มาทดสอบหาค่าความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยโดยการทดสอบค่าที (t - test) ผลการวิจัย 1. เฉพาะในการวิจัยนี้นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 15 คน ที่อยู่ในกลุ่มทดลอง ซึ่งได้รับการสอนด้วยกิจกรรมคัดสรร มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่า ของนักเรียนอีก 15 คนที่อยู่ในกลุ่มควบคุม 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการให้เหตุเชิงจริยธรรม แตกต่างกันที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05
dc.description.abstractalternativePurpose To compare moral reasoning ability of Prathom Suksa Six students taught by selected activities and regular instructional lesson plan activities.Procedures.The Levels of Moral Reasoning Test for elementary students contructed by the researcher herself was used in this study. After being examined by 7 experts, the test was used with 73 students who were not the subjects in the study in order to confirm the test reliability. The Alpha coefficient of Cronbach was used, and it was found that the reliability coefficient of the test was 0.793. The second type of instrument was the selected activities and regular instructional lesson plan activities. The subjects were 30 Prathom Suksa Six students of Wat Sarod school wich is the elementary schools under the authority of the Bangkok Metropolitan Administration. Thy were eleven to thirteen years old and their moral reasoning was in stage three. The students in both the controlled group and the experimental group were taught by selected activities and regular instructional lesson plan activities for four weeks. The post - test was given to both the experimental group and the controlled group. The data were concluded and analyzed by using t - test.Results1. Mean score in moral reasoning of fifteen, prathom Suksa Six students in the experimental group is higher than the=mean score of fifteen students in the controlled group. 2. The mean scores of moral reasoning of the samples used as an experimental group and controlled group are significantly different at the level of .O5
dc.format.extent512741 bytes
dc.format.extent679934 bytes
dc.format.extent1248502 bytes
dc.format.extent528503 bytes
dc.format.extent324300 bytes
dc.format.extent642719 bytes
dc.format.extent3863777 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถในการให้เหตุผลเชิงจริยธรรม ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หก ซึ่งสอนด้วยกิจกรรมคัดสรร กับกิจกรรมตามแผนการสอนปกติen
dc.title.alternativeA comparison of prathom suksa six students' moral reasoning ability taught by selected activities and regular insturctional lesson plan activitiesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประถมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Siriporn_Ku_front.pdf500.72 kBAdobe PDFView/Open
Siriporn_Ku_ch1.pdf664 kBAdobe PDFView/Open
Siriporn_Ku_ch2.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open
Siriporn_Ku_ch3.pdf516.12 kBAdobe PDFView/Open
Siriporn_Ku_ch4.pdf316.7 kBAdobe PDFView/Open
Siriporn_Ku_ch5.pdf627.66 kBAdobe PDFView/Open
Siriporn_Ku_back.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.