Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29330
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศิริชัย ศิริกายะ | - |
dc.contributor.author | ภุชงค์ น้อยสง่า | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-03-06T08:58:41Z | - |
dc.date.available | 2013-03-06T08:58:41Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746361171 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29330 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะพฤติกรรมในการใช้สื่อวิทยุและโทรทัศน์ ของคนงานไร่อ้อย ที่หมู่บ้านหนองประเสริฐ อำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี ผู้ใช้สื่อมวลชนในปริมาณที่มากพอสมควร การศึกษาในงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพใช้วิธีการวิจัย โดยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และสัมภาษณ์แบบเจาะลึกบุคคลที่เป็นคนงานไร่อ้อยจำนวนที่เป็นตัวแทนของกลุ่ม 2 กลุ่ม จำนวน 26 คน ผลการวิจัยพบว่า คนงานไร่อ้อยที่หมู่บ้านหนองประเสริฐ เป็นผู้ที่มีการใช้สื่อวิทยุและโทรทัศน์ในปริมาณที่มากพอสมควร และใช้แนวคิดเกี่ยวกับการใช้สื่อ เพื่อประโยชน์และความพึงพอใจจากสื่อมวลชน และแนวคิดเกี่ยวกับวัยรุ่นของคนงานไร่อ้อย ที่เปิดรับวิทยุและโทรทัศน์ คนงานไร่อ้อยเปิดรับสื่อวิทยุและโทรทัศน์ตามประเภทของเนื้อหา 4 ประเภท โดยเปิดรับเนื้อหาประเภทบันเทิงมากที่สุด รองลงมาได้แก่ เนื้อหาประเภทข่าว อันดับสามได้แก่ ข่าวเกษตรกรรม อันดับสุดท้าย ได้แก่ เนื้อหาประเภททั่วไป นอกจากนี้ยังพบว่าการใช้สื่อวิทยุและโทรทัศน์ของคนงานไร่อ้อยได้สนองตอบต่อความต้องการจำเป็น 4 ประเภท คือ การสนองตอบทางด้านอารมณ์ มากที่สุด รองลงมา การสนองความต้องการข่าวสารความรู้และความเข้าใจในเหตุการณ์ต่าง ๆ อันที่สามการสนองความต้องการสร้างความมั่นใจและสถานภาพของคนงาน อันดับสุดท้ายการสนองความต้องการหลีกหนีจากสภาพความเป็นจริง ซึ่งความต้องการทั้งหมดนี้ เกิดจากความต้องการทางจิตใจและสังคมของคนงานไร่อ้อย | - |
dc.description.abstractalternative | The objective of this research was to study workers’ radio and television consumption and their uses and gratifications of the media. Sample of 26 workers were drawn drom the sugar cane farms, Nhongprasert village, Nhongsang District, Udon Thani Province. Data collection was undertaken through a participation observation and in-depth interview within a theretical framework of uses gratifications. Results reveal that radio and television are the most popular media among the workers. The contents they are most likely to use are entertaining programs, agriculture news, general news and information. It was also found that their media gratification are related to four major types of needs, namely affection, intergration, cognition, and escapism. | - |
dc.format.extent | 2336362 bytes | - |
dc.format.extent | 4458794 bytes | - |
dc.format.extent | 3077408 bytes | - |
dc.format.extent | 6409053 bytes | - |
dc.format.extent | 13815279 bytes | - |
dc.format.extent | 2385453 bytes | - |
dc.format.extent | 14798341 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การใช้สื่อวิทยุและโทรทัศน์ ของคนงานไร่อ้อยที่หมู่บ้านหนองประเสริฐ อำเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี | en |
dc.title.alternative | Radio and television uses and gratification of workers in the sugar cane farms, Nhongprasert village, Nhongsang district, Udon Thani province | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การสื่อสารมวลชน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Bhoochonka_no_front.pdf | 2.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoochonka_no_ch1.pdf | 4.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoochonka_no_ch2.pdf | 3.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoochonka_no_ch3.pdf | 6.26 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoochonka_no_ch4.pdf | 13.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoochonka_no_ch5.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoochonka_no_back.pdf | 14.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.