Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29708
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ วราภักดิ์
dc.contributor.authorอมรรัตน์ ปรารมย์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-03-13T02:16:24Z
dc.date.available2013-03-13T02:16:24Z
dc.date.issued2539
dc.identifier.isbn9746343513
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/29708
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการเลือกวิธีการพยากรณ์ให้เหมาะสมสำหรับข้อมูลอนุกรมเวลา ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล และการนำไปประยุกต์ใช้ ดั้งนั้นการใช้ค่าพยากรณ์ร่วมที่มาจากการรวมวิธีการพยากรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน จึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ใช้โดยไม่ต้องตัดสินใจเลือกวิธีใดวิธีหนึ่ง การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบวิธีการพยากรณ์สำหรับข้อมูลอนุกรมเวลา ระหว่างการเลือกใช้วิธีการพยากรณ์แบบใดแบบหนึ่ง กับการใช้ค่าพยากรณ์ร่วม วิธีการพยากรณ์เดี่ยว ได้แก่ วิธีการปรับให้เรียบแบบเอกซโพเนนเชียลครั้งเดียว วิธีการปรับให้เรียบเอกซโพเนนเชียลแบบปรับอัตราส่วน วิธีการปรับให้เรียบแบเอกซโพเนนเชียลซ้ำสองครั้ง และวิธีการปรับให้เรียบแบบเอกซโพเนนเชียลสองพารามิเตอร์ของ Holt และการใช้ค่าพยากรณ์ร่วมได้แก่การให้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักด้วยวิธีการของ Bates, Granger และ Newbold วิธีค่าสัมบูรณ์ต่ำสุด และวิธีการให้น้ำหนักที่เท่ากัน การเปรียบเทียบกระทำภายใต้สถานการณ์ของขนาดตัวอย่าง 5, 15, 30, 50 และ 70 และข้อมูล 2 ลักษณะคือข้อมูลที่เคลื่อนไหวในระดับค่าเฉลี่ยและข้อมูลที่เคลื่อนไหวในลักษณะแนวโน้มเชิงเส้น เพื่อคำนวณค่าเฉลี่ยร้อยละของความเคลื่อนจากการพยากรณ์ (MAPE) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ในสถานการณ์ที่ขนาดตัวอย่างเล็ก (5, 15) ข้อมูลมีการเคลื่อนไหวในระดับค่าเฉลี่ย ควรใช้วิธีการปรับให้เรียบแบบเอกซโพเนนเชียลครั้งเดียว แต่ถ้าข้อมูลมีการเคลื่อนไหวในลักษณะแนวโน้มเชิงเส้น ควรใช้วิธีการปรับให้เรียบแบบเอกซโพเนนเชียลครั้งเดียว แต่ถ้าข้อมูลมีการเคลื่อนไหวในลักษณะแนวโน้มเชิงเส้น ควรใช้วิธีการปรับให้เรียบแบบเอกซโพเนนเชียลซ้ำสองครั้ง ส่วนในสถานการณ์ที่ขนาดตัวอย่างมีขนาดปานกลางถึงใหญ่ (30, 50, 70) ควรใช้ค่าพยากรณ์ร่วมด้วยวิธีค่าสัมบูรณ์ต่ำสุด
dc.description.abstractalternativeThe most appropriate forecasting method for time series depends on the characteristics of the series and the type of application. So aggregating information by combining forecasts from several forecasting methods is an alternative to using just a single method. The purpose of this research is to compare forecasting methods in time series between individual and combined forecasting methods. Individual methods are Single Exponential Smoothing, Adaptive Response-Rate Exponential Smoothing, Double Exponential Smoothing and Holt’s Two Parameter Exponential Smoothing method. Combined forecasts methods are the Bates, Granger and Newbold’s method, the Least Absolute Value method and Simple Average method. The comparison was done under conditions of sample size (5, 15, 30, 50, 70) and two types of times series data are horizontal and linear trend. To calculate the mean absolute percentage errors (MAPEs) of each method. Results of the study are summarized as follows: In case of small sample size (5, 15), we should use Single Exponential Smoothing method for horizontal data and Double Exponential Smoothing method for linear trend data. When the sample size is medium or large (30, 50, 70), we should use combined forecasts by the Least Absolute Value method.
dc.format.extent2858277 bytes
dc.format.extent2035350 bytes
dc.format.extent2533425 bytes
dc.format.extent2270489 bytes
dc.format.extent10480338 bytes
dc.format.extent2282657 bytes
dc.format.extent14542377 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการหาค่าพยากรณ์ร่วมโดยการให้ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักen
dc.title.alternativeCombining forecasts by using weighted averagesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amornrut_pr_front.pdf2.79 MBAdobe PDFView/Open
Amornrut_pr_ch1.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open
Amornrut_pr_ch2.pdf2.47 MBAdobe PDFView/Open
Amornrut_pr_ch3.pdf2.22 MBAdobe PDFView/Open
Amornrut_pr_ch4.pdf10.23 MBAdobe PDFView/Open
Amornrut_pr_ch5.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open
Amornrut_pr_back.pdf14.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.