Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30031
Title: ปัญหาและอุปสรรคในการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องประดับ เพื่อการส่งออกอันเนื่องจากกฎหมายและกฏระเบียบ ในการควบคุมการนำเข้าและส่งออกทองคำ
Other Titles: Problems and Obstacles of Jewellry Export Caused by Laws and Requlations on Import/Export of Gold
Authors: ไพศาล มหาพัณณาภรณ์
Advisors: สุรเกียรติ์ เสถียรไทย
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2534
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ปัญหาและอุปสรรคที่สำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมเครื่องประดับเพื่อการส่งออก อันเป็นอุตสาหกรรมที่หารายได้เข้าประเทศเป็นจำนวนถึง 11,974 ล้านบาท (ในปี พ.ศ. 2532) คือ การขาดแคลนทองคำ ซึ่งเป็นวัตถุดิบสำคัญในการผลิตเครื่องประดับ การขาดแคลนทองคำมีสาเหตุเนื่องมาจากทองคำเป็นสินค้าที่มีกฎหมายและกฎระเบียบควบคุมการนำเข้าและส่งออกอย่างเข้มงวด อันเนื่องจากเหตุและควานจำเป็นในอดีต แต่ในปัจจุบันเหตุและควานจำเป็นในการควบคุมการนำเข้าและส่งออกทองคำได้สิ้นสุดลงแล้ว การควบคุมการนำเข้าและส่งออกทองคำ จึงไม่ใช่สิ่งที่ควรกระทำต่อไปและโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การควบคุมก่อให้เกิดปัญหา อันเป็นอุปสรรคสำคัญต่อการขยายตัวของอุตสาหกรรมเครื่องประดับเพื่อการส่งออก ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกที่ก่อให้เกิดรายได้เข้าประเทศเป็นจำนวนมาก จึงน่าที่จะได้นำเรื่องการควบคุมการนำเข้า และส่งออกทองคำมาพิจารณา เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมในการเปลี่ยนระบบการควบคุมมาเป็นระบบการนำเข้าและส่งออกทองคำเสรี โดยมีเป้าหมายที่จะแก้ไขปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรมเครื่องประดับเพื่อการส่งออก เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่เศรษฐกิจของประเทศ
Other Abstract: One of the most important problems of development of jewelry export industry which brought an income of 11,974 Million Baht (In 1989) into the country is a shortage of gold, an important raw materail in jewelry production. The reason for the shortage is that gold Is under strict legal import, and export control due to various historical reasons. However, at present, reasons for control such have already been obsolete. The control should, as a result, no longer be in effect, since it has led to problems against expansion of jewelry industry. The issue of a control should now be taken into consideration in order to search for an appropriate policy of free import and export. The new policy will eliminate obstacles prevalent in the industry and maximizing national economic benefits.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/30031
ISBN: 9745791784
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Paisan_ma_front.pdf6.18 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_ma_ch0.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_ma_ch1.pdf9.91 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_ma_ch2.pdf13.48 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_ma_ch3.pdf17.11 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_ma_ch4.pdf10.03 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_ma_ch5.pdf8.97 MBAdobe PDFView/Open
Paisan_ma_back.pdf28.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.