Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31047
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา ธาดานิติ
dc.contributor.authorอัญชลี ตันวานิช
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-05-17T09:35:58Z
dc.date.available2013-05-17T09:35:58Z
dc.date.issued2532
dc.identifier.isbn9745698199
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31047
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ผ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะทางกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร ก่อนและหลังมีการสร้างสะพานติณสูลานนท์ของพื้นที่ตำบลเกาะยอ 2) ศึกษาการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้น 3) ระบุผลกระทบในด้านการใช้ที่ดินจากสะพานติณสูลานนท์ 4) คาดการณ์แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน 5) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาการใช้ที่ดินที่เหมาะสม ผลที่ได้จากการวิจัยพบว่าสะพานติณสูลานนท์ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อตำบลเกาะยอและพื้นที่เกี่ยวเนื่อง อันได้แก่ ตำบลพะวง ตำบลสทิงหม้อ บริเวณท่าแพขนานยนต์ และตัวเมืองสงขลา ตำบลเกาะยอเป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด เกิดการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินจากภาคการเกษตรเป็นนอกภาคการเกษตร โดยเปลี่ยนเป็นทางหลวง ถนนรอบเกาะ สวนอาหาร สถาบันทักษิณคดีศึกษา บ้านพักอาศัย ร้านค้า สวนรัชมังคลาภิเษก ตลาดนัด ทางด้านเศรษบกิจ เกิดความเหลื่อมล้ำในระดับรายได้ ที่ดินมีราคาสูงขึ้น มีอาชีพหลากหลาย ส่วนทางด้านสังคมและประชากร มีคนอพยพย้ายถิ่นเข้าเกาะยอมากขึ้น เปลี่ยนจากสังคมปิดเป็นสังคมเปิด นอกจากนี้สะพานติณสูลานนท์ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการคมนาคมของจังหวัดสงขลา โดยมีผลให้แพขนานยนต์ลดความสำคัญลง ขณะเดียวกันเกาะยอมีบทบาทเป็นทางผ่านและจุดรับ-ส่ง การคมนาคมที่สำคัญ ส่งผลให้พื้นที่เกี่ยวเนื่องตำบลพะวงและตำบลสทิงหม้อกลายเป็นทางผ่านการคมนาคมที่สำคัญ ตำบลพะวงเป็นศูนย์ราชการแห่งใหม่ของจังหวัดสงขลา เปลี่ยนการใช้ที่ดินจากที่ว่าง ที่นา ที่ลุ่มเป็น ศูนย์การค้า อาคารพาณิชย์ สถานจำหน่ายน้ำมัน และที่ดินมีราคาสูงขึ้น ส่วนตำบลสทิงหม้อ เป็นที่ตั้งกิ่งอำเภอสิงหนคร ที่ดินมีราคาสูงขึ้น สำหรับตัวเมืองสงขลาและบริเวณท่าแพขนานยนต์กลายเป็นเมืองนอกเส้นทางการคมนาคม ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ให้ข้อเสนอแนะเพื่ออนุรักษ์เกาะยอให้มากที่สุด โดยพัฒนาตำบลสทิงหม้อเป็นแหล่งการค้าการบริการรองรับโครงการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นและจำนวนนักท่องเที่ยวที่จะเพิ่มขึ้นในอนาคต รวมทั้งพัฒนาปรับปรุงและฟื้นฟูตัวเมืองสงชลาให้เป็นเมืองท่องเที่ยวและธรรมชาติและชุมชนโบราณ
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are 1) to study physical, socio-economic and demographic aspects of Tambon Koyo before and after the Tinsulanonda Bridge construction, 2) to study land use changes of Tambon Koyo and the factors influencing those changes, 3) to identify the impact of Tinsulanonda Bridge on land use, 4) to project the future land use and, 5) to give the guidelines for land use planning. The result derived from the research delineated that the Tinsulanonda Bridge created impacts on Kayo and the related areas, namely, Tambon Pawong, Tambon Sating Mhore, Tapae Kananyont and the Songkhla Community. The greatest impact was on Koyo where the rural landuse was replaced by the urban land. The agricultural area had been changed to be the highway, the island ringroad, food gardens, the institute of the Southern Studies, urban residences, shops, community park, and the basaar. In economic aspect there were inequalities in wealth distribution caused by different revenues. There were more varieties in profession of the Koyo inhabitants while the land price had been raised up. In terms of socio and demographic aspects, there were more in-migrants to Koyo. The society pattern has been changed from the closed to opened one. Moreover, the coming of the Tinsulanonda Bridge greatly caused the changes in the transport pattern of the Songkhla Province. The important of the ferry-raft was reduced while the Koyo highway played the important role as the origin-distination spots. This situation had also the effects on Tambon Pawong and Tambon Sating Mhore as the significant through traffic route. Tambon Pawong had been selected as the new governmental centre of the province. As being such centre, the landuse of Tambon Pawong had been changed from the vacant and paddy fields to be the shopping centre, business building,the petrol station and the other urban-used buildings. The land price in Tambon Pawong and Tarnbon Sating Mhore was i creased. Finally, the proper Songkhla as well as the ferry-raft port had become the out-of-route community. The high degree of Koyo preservation was the recommendation proposed in this research. The future development caused by the tourism promotion and, the different project introductions had to be pulled away from Koyo to Tambon Sating Mhore. It needed to be done together with the development of the Songkhla town as the tourism center famous for the natural beauty and the historical value.
dc.format.extent1456322 bytes
dc.format.extent644217 bytes
dc.format.extent955141 bytes
dc.format.extent5555643 bytes
dc.format.extent2847812 bytes
dc.format.extent6488589 bytes
dc.format.extent3092269 bytes
dc.format.extent3224798 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการใช้ที่ดิน -- ไทย -- สงขลา -- เกาะยอ
dc.subjectคมนาคม -- ไทย -- สงขลา -- เกาะยอ
dc.titleการศึกษาผลกระทบของสะพานติณสูลานนท์ ที่มีต่อการใช้ที่ดินบนถนนเกาะยอและบริเวณพื้นที่เกี่ยวเนื่อง จังหวัดสงขลาen
dc.title.alternativeAn impact study of Tinsulanonda Bridge on land use in Tambon Koyo and related area Songkhla Provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameการวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการวางแผนภาคและเมือง
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anchalee_ta_front.pdf1.42 MBAdobe PDFView/Open
Anchalee_ta_ch1.pdf629.12 kBAdobe PDFView/Open
Anchalee_ta_ch2.pdf932.75 kBAdobe PDFView/Open
Anchalee_ta_ch3.pdf5.43 MBAdobe PDFView/Open
Anchalee_ta_ch4.pdf2.78 MBAdobe PDFView/Open
Anchalee_ta_ch5.pdf6.34 MBAdobe PDFView/Open
Anchalee_ta_ch6.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open
Anchalee_ta_back.pdf3.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.