Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31322
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศนันท์กรณ์ โสตถิพันธุ์-
dc.contributor.authorสิรีธร นิธิเบญญากร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-25T09:45:51Z-
dc.date.available2013-05-25T09:45:51Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31322-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาถึงการนำจารีตประเพณีทางการค้ามาใช้ในสัญญาทางพาณิชย์ภายใต้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน และศึกษาถึงวิธีการนำจารีตประเพณีทางการค้ามาใช้ในสัญญาทางพาณิชย์หากมีการประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายสินค้าทางพาณิชย์ พ.ศ. ... โดยนำมาวิเคราะห์และเปรียบเทียบกับการนำจารีตประเพณีทางการค้ามาใช้โดยกฎหมายต่างๆ คือ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (CISG) หลักทั่วไปเกี่ยวกับสัญญาทางพาณิชย์ระหว่างประเทศ (UNIDROIT) กฎหมายเอกรูปทางการค้าของประเทศสหรัฐอเมริกา (UCC) และกฎหมายพาณิชย์ของประเทศญี่ปุ่น จากการศึกษาพบว่า ในปัจจุบันภายใต้ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มิได้มีบทบัญญัติเกี่ยวกับจารีตประเพณีทางการค้าเอาไว้โดยตรง แต่สามารถนำมาใช้โดยถือว่าเป็นเจตนาของคู่สัญญา และอาจถือได้ว่าอยู่ในความหมายของ ”ปกติประเพณี” อันสามารถนำมาใช้โดยอาศัยการตีความสัญญาตามมาตรา 368 ได้ แต่การนำมาใช้อุดช่องว่างแห่งกฎหมายตามมาตรา 4 ในฐานะเป็นจารีตประเพณีแห่งท้องถิ่นอาจไม่ครอบคลุมถึงจารีตประเพณีทางการค้าทุกประเภท ดังนั้นผู้วิจัยมีความเห็นว่า ประเทศไทยควรมีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องจารีตประเพณีทางการค้าเอาไว้โดยตรง และควรมีการให้คำนิยามถึงความหมายของคำว่า “แนวปฏิบัติทางการค้า” และ“จารีตประเพณีทางการค้า” เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกันของคู่สัญญา นอกจากนั้น จารีตประเพณีทางการค้าควรมีผลผูกพันคู่สัญญาในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสัญญา เพื่อให้เกิดความสอดคล้องและเหมาะสมกับการทำธุรกรรมทางพาณิชย์en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to study the application of trade usages in commercial transaction under Thai laws, which are the Civil and Commercial Code and the Draft of Commercial Sales of Goods Act. The research is undertaken by methodology of analyzing and comparing those Thai laws with the UN Convention on Contracts for the International Sales of Goods, Unidroit Principle of International Commercial Contracts, the Uniform Commercial Code, and the Commercial Code of Japan. The research found that there is no explicit provision of trade usages under the Civil and Commercial Code. Trade usages can be used as an intention of the parties and to interpret the contracts. However, using of trade usages as local usages to fill the gap of law may not cover all kind of trade usages. These problems lead to the resolution that the explicit provision of trade usages is necessary and the provision should provides the definition of “Trade Practices” and “Trade Usages” in order to make the understanding of the parties. Moreover, the parties should be bound by any trade usages as a part of their contracts.en
dc.format.extent11174520 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.359-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกฎหมาย -- ไทยen
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์en
dc.titleปัญหาการนำจารีตประเพณีทางการค้ามาใช้ในกฎหมายไทยen
dc.title.alternativeThe legal problems of application of trade usages under Thai lawen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSanunkorn.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.359-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sireethorn_ni.pdf10.91 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.