Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSupawan Tantayanon-
dc.contributor.authorPenchit Chitnumsub-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2013-05-28T04:52:04Z-
dc.date.available2013-05-28T04:52:04Z-
dc.date.issued1988-
dc.identifier.isbn9745696846-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31461-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 1988en
dc.description.abstractThe four chlorophynyl acrylates, i.e., pentachlorophynyl acrylate(PCPA), 2,4,5-trichlorophynyl acrylate (2,4,5-TCPA), 2,4,6-trichlorophynyl acrylate (2,4,6-TCPA), and 4-chloro-3-methylphenyl acrylate (4-Cl-3-MPA) were synthesized in reasonable yield. The identification of these compounds were performed by the IR and NMR spectroscopy. Each of these chlorphenyl acrylates was copolymerized with methyl methacrylate (MMA), in benzene at 50๐C initiated byα, α’-azobisisobutyronitrile (AIBN). For each chlorophynyl acylate, various monomer feeding ratios, usually from 0.1 to 0.7 mole fraction of the chlorophynyl acrylate, were used. For low conversion, the copolymer composition of each copolymer was then determined by UV-Visible spectroscopy using the corresponding fungicidal homo-polymer as a standard. For high conversion, the residual monomer in each reaction was, instead, monitored by gas-liquid chromatography. Finally, the monomer reactivity ratios of each copolymer were determined by using two methods; Fineman-Ross and and Mayo-Lewis method. The first method gave r1 = 1.07+-0.04, r 2 = 0.08+-0.11 for MMA-2,4,5-PCPA; r1 = 0.84+-0.01, r2 = 0.36+-0.05 for MMA-2,4,6-TCPA; r1 = 0.58+-0.01, r2 = 0.20+-0.05 for MMA-2,4,6-TCPA; r1 = 0.67+-0.2, r2 = 0.33+-0.02 for MMA-4-Cl-3-MPA. Mayo-Lewis method yielded r1 = 1.00, r2 = 0.08 for MMA-PCPA; r1 = 0.92, r2 = 0.42 for MMA-2,4,5-TCPA; r1 = 0.63, r2 = 0.12 for MMA-2,4,6-TCPA and r1 = 0.64, r2 = 0.37 for MMA-4-Cl-3-MPA. The monomer reactivity ratios, as determined by both methods, are in reasonable agreement.-
dc.description.abstractalternativeสารประเภทคลอโรเฟนิลอะคริเลต 4 ชนิดได้แก่ เพนตะคลอโรเฟนิลอะคริเลต (PCPA), 2,4,5-ไตรคลอโรเฟนิลอะคริเลต (2,4,5-TCPA), 2,4,6-ไตรคลอเฟนิลอะคริเลต (2,4,6-TCPA) และ 4-คลอโร-3-เมทิลเฟนิลอะคริเลต (4-Cl-3-MPA) เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างสารประกอบคลอโรฟีโนลิกแต่ละชนิดและอะคริโลอิลคลอไรด์ ได้สารผลิตภัณฑ์เป็นที่ยอมรับ โครงสร้างทางเคมีของสารประเภทคลอโรเฟนิลอะคริเลตเหล่านี้สามารถตรวจสอบยืนยันได้ โดยใช้เทคนิคทางไออาร์ และเอ็นเอ็มอาร์สเปกโตรสโกปี ต่อมาสารคลอโรเฟนิลอะคริเลตแต่ละตัวถูกนำไปทำปฏิกิริยาโคพอลิเมอไรเซชัน กับเมทิล เมทาคริเลต (MMA) ในตัวทำละลายเบนซีนที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส โดยใช้แอลฟา, แอลฟา’-เอโซบิสไอโซบิวทิโรไนทริล (AIBN) เป็นตัวเริ่มปฏิกิริยา โดยที่แต่ละปฏิกิริยาจะมีปริมาณของสารคลอโรเฟนิลอะคริเลตที่เริ่มต้นหลายค่า ระหว่าง 0.1 – 0.7 โมลแฟรกชัน สำหรับโคพอลิเมอร์ที่มีร้อยละของการเปลี่ยนไปเป็นพอลิเมอร์ต่ำ การวิเคราะห์หาปริมาณของสารคลอโรเฟนิลอะคริเลตในโคพอลิเมอร์ที่สังเคราะห์ขึ้น โดยใช้เทคนิคทางยูวี-วิซิเบิลสเปกโตรสโกปี เปรียบเทียบกับโฮโมพอลิเมอร์ของคลอโนเฟนิลอะคริเลตแต่ละชนิดซึ่งเตรียมขึ้นเพื่อใช้เป็นสารมาตรฐาน และสำหรับโคพอลิเมอร์ที่มีร้อยละของการเปลี่ยนไปเป็นพอลิเมอร์สูง ได้ทำการศึกษาหาปริมาณของมอนอเมอร์ที่เหลืออยู่ในแต่ละปฏิกิริยาแทนโดยใช้แก๊ส-ลิควิดโครมาโตกราฟี อัตราส่วนความว่องไวขอมอนอเมอร์ของแต่ละโคพอลิเมอร์ คำนวณหาโดยใช้วิธีลิเนียไรเซชัน 2 วิธี ซึ่งอนุพันธ์โดยไฟน์มาน-รอสส์และเมโย-ลูวิส วิธีแรกพบว่า MMA-PCPA มีค่า r1 เท่ากับ 1.07+-0.04 และ r 2 เท่ากับ 0.08+-0.11, MMA-2,4,5-TCPA มีค่า r1 เท่ากับ 0.84+-0.01 และ r2 เท่ากับ 0.36+-0.05, MMA-2,4,6-TCPA มีค่า r1 เท่ากับ 0.58+-0.01 และ r2 เท่ากับ 0.20+-0.05, MMA-4-Cl-3-MPA มีค่า r1 เท่ากับ 0.67+-0.2 และ r2 เท่ากับ 0.33+-0.02 และอีกวิธีซึ่งอนุพันธ์โดยมาโยและลูวิส พบว่า MMA-PCPA มีค่า r1 เท่ากับ 1.00 และ r2 เท่ากับ 0.08, MMA-2,4,5-TCPA มีค่า r1 เท่ากับ 0.92 และ r2 เท่ากับ 0.42, MMA-2,4,6-TCPA มีค่า r1 เท่ากับ 0.63 และ r2 เท่ากับ 0.12 และ MMA-4-Cl-3-MPA มีค่าr1 เท่ากับ 0.64 และ r2 เท่ากับ 0.37 ปรากฏว่าค่าอัตราส่วนความว่องไวของมอนอเมอร์ที่คำนวณจากทั้งสองวิธีนั้นสอดคล้องกัน-
dc.format.extent1462521 bytes-
dc.format.extent1051213 bytes-
dc.format.extent1907877 bytes-
dc.format.extent3970027 bytes-
dc.format.extent376350 bytes-
dc.format.extent1289994 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.titleCopolymerization of the fungicidal chlorophenyl acrylates with methyl methacrylateen
dc.title.alternativeโคพอลิเมอร์ไรเซชันระหว่างสารฆ่าเชื้อราประเภทคลอโรเฟนิลอะคริเลต กับเมทิล เมทาคริเลตen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChemistryes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Penchit_ch_front.pdf1.43 MBAdobe PDFView/Open
Penchit_ch_ch1.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open
Penchit_ch_ch2.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open
Penchit_ch_ch3.pdf3.88 MBAdobe PDFView/Open
Penchit_ch_ch4.pdf367.53 kBAdobe PDFView/Open
Penchit_ch_back.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.