Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31518
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุพล ดุรงค์วัฒนา | - |
dc.contributor.author | อรทัย ยอดนิล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2013-05-29T02:47:38Z | - |
dc.date.available | 2013-05-29T02:47:38Z | - |
dc.date.issued | 2539 | - |
dc.identifier.isbn | 9746367226 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31518 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (สต.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาแผนแบบการทดลองที่เหมาะสมในกรณีที่ปัจจัยในแผนแบบการทดลองเป็นตัวแปรต่อเนื่อง โดยจำทำการเปรียบเทียบแผนแบบการทดลอง 2 วิธี คือ แผนแบบการทดลองแบบเฟคทอเรียล (Factorial experiments) กับแผนการทดลองแบบการหมุน (Rotated Design) โดยข้อมูลจะสร้างจากความสัมพันธ์ของตัวแปรตามกับตัวแปรในแผนแบบการทดลองในรูปแบบกำลังหนึ่ง (first order model) และในรูปแบบกำลังสอง (second order model) เกณฑ์การเปรียบเทียบที่ใช้ คือค่าเฉลี่ยของพารามิเตอร์ไร้ศูนย์กลาง (average noncentrality parameter) การแจกแจงความคลาดเคลื่อนที่ศึกษาคือการแจกแจงปกติมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0, 5, 10 และ 20 และ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานคือ 5, 10, 15, 20, 25 และ 30 ขนาดตัวอย่างที่ใช้คือ 7, 8, 9 และ 10 สำหรับข้อมูลชุดนี้ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์จำลองด้วยเทคนิคมอนติคาร์โลกระทำซ้ำ 1,000 ครั้ง ในแต่ละสถานการณ์ ผลสรุปมีดังนี้ 1.แผนแบบการทดลองแบบการหมุนจะมีความเหมาะสมมากกว่าแผนแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียล ในเกือบทุกกรณีที่ทำการศึกษา คือแผนแบบการทดลองแบบการหมุนจะมีค่าเฉลี่ยของพารามิเตอร์ไร้ศูนย์กลางสูงกว่าแผนแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียล แต่เมื่อขนาดตัวอย่างและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของความคลาดเคลื่อนมีค่าสูงขึ้น ค่าเฉลี่ยของพารามิเตอร์ไร้ศูนย์กลางของทั้งสองวีจะมีค่าใกล้เคียงกัน 2.ปัจจัยที่มีผลต่อค่าเฉลี่ยของพารามิเตอร์ไร้ศูนย์กลางมากที่สุด คือค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐานของความคลาดเคลื่อน รองลงมาค่าเฉลี่ยของความคลาดเคลื่อน จำนวนการทำซ้ำที่จุดศูนย์กลาง และรูปแบบของความสัมพันธ์ของตัวแปรตามกับตัวแปรในแผนแบบการทดลอง | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research is to compare two experimental designs those have continuous factors those two designs are Factorial experiments and Rotated Design. This study used data generated from first order model and second order model. The criteria employed for the comparison is the average noncentrality parameter (LA). The distribution of random errors are normal distribution with mean equal to 0.5, 10 and 20 and standard deviation equal to 5, 10, 15, 20, 25 and 30. This study used sample size of 7, 8, 9 and 10. The data of this experiment are generated through the Monte Carlo simulation technique with 1,000 replications. The following are the result of this research: 1.Rotated Design is better than Factorial experiments in almost every case in this study. Rotated Design has the average noncentrality parameter greater than Factorial experiments in almost every case in this study. But when the sample size and the standard deviation of error are increase the average noncentrality parameters of both experimental designs were closed. 2.The factors that effect (LA) of two experimental designs are standard deviation of errors, mean of errors, the sample size at center point and the function of y(i) and x(1). | - |
dc.format.extent | 5341259 bytes | - |
dc.format.extent | 1400964 bytes | - |
dc.format.extent | 3676914 bytes | - |
dc.format.extent | 2527465 bytes | - |
dc.format.extent | 10736261 bytes | - |
dc.format.extent | 1778181 bytes | - |
dc.format.extent | 14788907 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของแผนแบบการทดลองแบบแฟคทอเรียล กับแผนแบบการทดลองแบบการหมุน | en |
dc.title.alternative | A comparison on the efficiency of factorial experiments and rotated design | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | สถิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | สถิติ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Oratai_yo_front.pdf | 5.22 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Oratai_yo_ch1.pdf | 1.37 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Oratai_yo_ch2.pdf | 3.59 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Oratai_yo_ch3.pdf | 2.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Oratai_yo_ch4.pdf | 10.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Oratai_yo_ch5.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Oratai_yo_back.pdf | 14.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.