Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31568
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวัฒนา สุวรรณเขตนิคม-
dc.contributor.authorเพ็ญศรี ลาหล้าเลิศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-05-29T07:17:31Z-
dc.date.available2013-05-29T07:17:31Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745785776-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31568-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบค่าสถิติของมาตรประมาณค่าที่มีรูปแบบคำตอบต่างกัน ในการประเมินตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยใช้นิสัยในการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เป็นสถานการณ์ในการศึกษาจำนวน 5 รูปแบบ คือ 1) แบบกราฟิกอธิบายหัวท้าย 2) แบบกราฟิกอธิบายทุกสเกล 3) แบบบรรยายอย่างง่าย 4) แบบบรรยายที่สอดคล้องพฤติกรรม และ 5) แบบเปอร์เซ็นต์ของพฤติกรรม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสุ่มนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 481 คน แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม เพื่อตอบมาตรประมาณค่าที่มีรูปแบบคำตอบต่างกัน 5 รูปแบบ นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าสถิติพื้นฐาน และเปรียบเทียบความแตกต่างของมัชฌิมเลขคณิต ความแปรปรวน การแจกแจงข้อมูล ค่าความตรงเชิงสภาพ และค่าความเที่ยงแบบสอบซ้ำ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ค่าสถิติของมาตรประมาณค่า สำหรับประเมินตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้ง 5 รูปแบบ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าความแปรปรวน และการแจกแจงข้อมูล 2. ค่าสถิติอันเป็นตัววัดความตรงเชิงสภาพ และความเที่ยงแบบสอบซ้ำ ของมาตรประมาณค่าสำหรับประเมินตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้ง 5 รูปแบบ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ 3. เฉพาะในตัวอย่างที่ศึกษานั้น รูปแบบคำตอบของมาตรประมาณค่าสำหรับประเมินตนเอง ในเรื่องนิสัยในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้ง 5 รูปแบบ มีค่าความเที่ยงสูง แต่เมื่อพิจารณาค่าความตรง พบว่า แบบบรรยายอย่างง่าย แบบบรรยายที่สอดคล้องพฤติกรรม และแบบเปอร์เซ็นต์ของพฤติกรรม มีความตรงสูงกว่าแบบกราฟิกอธิบายหัวท้าย และ แบบอธิบายทุกสเกล-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to compare the statistics of a rating scale that presented in five different response formats in self evaluating of upper secondary level school students. They were : (1) graphic format with ends labeled, (2) a graphic format with every point labeled, (3) a descriptive format with simple labeled, (4) a descriptive format with harmonious behavior labeled, and (5) a numerical format with percentage of behavior. The context of this study was to measure the study-habit of upper secondary level school students. The data were collected from 481 Mathayomsuksa Five students in Mahasarakam. Five random samples responsed to five formats of the rating scale. The data were analysed to illustrate the values and the differences of means, variances, distributions, concurrent validity coefficients, and test-retest reliability coefficients. The findings were as follow : 1. There were no significant differences among the five response rating scale formats in self evaluating of upper secondary level school students, regarding to the means, the variances, and the distributions. 2. There were no significant differences among the five response rating scale formats in self evaluating of upper secondary level school students, regarding to the concurrent validity coefficients and test-retest reliability coefficients. 3. Only in the investigated samples, the five response rating scale formats for self evaluating in study-habit of upper secondary level school students were equally good in the reliability. However, the descriptive format with simple labeled, the descriptive format with harmonious behavior labeled, and the numerical format with percentage of behavior were better than the graphic format with ends labeled and the graphic format with every scale labeled, with respect to the validity.-
dc.format.extent882862 bytes-
dc.format.extent1672294 bytes-
dc.format.extent2841472 bytes-
dc.format.extent1660346 bytes-
dc.format.extent1154968 bytes-
dc.format.extent1111270 bytes-
dc.format.extent2000740 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบค่าสถิติของมาตรประมาณค่าที่มีรูปแบบคำตอบต่างกัน ในการประเมินตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายen
dc.title.alternativeA comparison of statistics of different response rating scale format in self evaluating of upper secondary level school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pensri_la_front.pdf862.17 kBAdobe PDFView/Open
Pensri_la_ch1.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open
Pensri_la_ch2.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open
Pensri_la_ch3.pdf1.62 MBAdobe PDFView/Open
Pensri_la_ch4.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Pensri_la_ch5.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open
Pensri_la_back.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.