Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมั่นสิน ตัณฑุลเวศม์
dc.contributor.authorพูนศิริ ตันติวราพันธ์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-06-09T08:12:00Z
dc.date.available2013-06-09T08:12:00Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.isbn9745792527
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32087
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ประกอบด้วยสองส่วนได้แก่ การทดลองใช้ค่าดัชนีการกรองเพื่อหาสารที่เหมาะสมที่สุดจากสารพอลิอิเล็กโทรไลต์ประจุบวกสามชนิด และการศึกษาสมรรถนะของเครื่องกรองโดยตรงโดยใช้สารพอลิอิเล็กโทรไลต์ (ที่เลือกได้จากงานส่วนแรก) เป็นสารช่วยกรอง ในการทดลองงานส่วนแรก สารพอลิอิเล็กโทรไลต์ประจุบวกทั้งสามชนิดได้แก่ N8103 S581 และ C2830 สารทั้งสามมีจำหน่ายทั่วไปในท้องตลาด และเป็นสารที่เหมาะสมสำหรับใช้ในการกรองโดยตรง ทำการทดลองโดยใช้กระบอกกรองที่ประกอบด้วยชั้นทรายหนา 4 ชม. และมีขนาด 0.295-0.420 มม. ระดับความขุ่นที่ทำการศึกษาคือ 10 30 และ 50 NTU และปริมาณสารพอลิอิเล็กโทรไลต์เท่ากับ 0.5, 1.0, 2.0,5.0 และ 10.0 ผลการทดลองพบว่า N 8103 น่าจะเหมาะสมมากกว่าชนิดอื่น ๆ เนื่องจากให้ค่าดัชนีการกรองต่ำที่สุด ในการทดลองส่วนที่สองได้มีการใช้เครื่องกรองขนาดทดลองซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 42 ชม. โดยชั้นกรองประกอบด้วยถ่านแอนทราไชด์สูง 45.5 ชม. (ขนาดสัมฤทธิ์ 1.30 สปส. ความสม่ำเสมอ 1.50) และทรายชิลิกาสูง 24.5 ชม. (ขนาดสัมฤทธิ์ 0.55 สปส. ความสม่ำเสมอ 1.50) ค่า G มีค่าประมาณ 600 วินาที-¹ และเวลาสัมผัสมีค่าประมาณ 2.5 วินาที พารามิเตอร์ที่เป็นตัวแปรเปลี่ยนได้แก่ระดับความขุ่นของน้ำดิบที่ระดับ 10.30 และ 50 NTU อัตราการกรองที่ 5.10 และ 15 ม./ชม. ปริมาณพอลิอิเล็กโทรไลต์เท่ากับ 0.1, 0.5 และ 1.0 ผลการทดลองปรากฏว่า N8103 สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพกับน้ำดิบสังเคราะห์ความขุ่น 10 NTU ด้วยปริมาณ 0.1 มก./ล. ที่อัตราการกรอง 15 ม./ชม. โดยมีอายุการกรอง 19 ชม. และพบว่าอายุการกรองและคุณภาพน้ำที่กรองได้มีความสัมพันธ์แปรตามระดับความขุ่นของน้ำดิบส่วนปริมาณน้ำล้างย้อนจะแปรผันโดยตรงกับปริมาณสารเคมีที่เดิม นอกจากนี้ยังได้ทดลองใช้ C2830 ปริมาณ 0.1 มก./ล. และใช้สารส้มปริมาณ 0.1-5.0 มก./ล. ทดลองกรองน้ำขุ่นสังเคราะห์ระดับความขุ่น 10 NTU ปรากฏผลว่า C2830 ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพแต่มีอายุการกรองเพียง 9 ชม. ทั้งนี้ยังได้ทดลองกรองน้ำดิบจากคลองประปาที่มีความขุ่นประมาณ 60 NTU และใช้ N 8103 ปริมาณ 0.1,0.25,0.5 และ 1.0 มก./ล. แล้วเจือจางเหลือความขุ่นประมาณ 10 NTU และใช้ N8103 ที่ปริมาณ 0.1 และ 1.0 มก./ล. พบว่า N8103 มีประสิทธิภาพดีที่ปริมาณ 1.0 มก./ล. เมื่อใช้กับน้ำจากคลองประปาเจือจางโดยมีอายุการกรอง 19 ชม.
dc.description.abstractalternativeThe research composed of two parts, one was the use of filterability index for selecting the most suitable one from three types of cationic polyelectrolytes, another was the study of capability of a filter by using the selected polyelectrolyte. (from the previous part) as a coagulant. In the first part, three cationic polyelectrolytes were N 8103, S 581 and C 2830, which are available in the local markets and proper to be used in direct filtration. The experiments performed by using a column which consisted of 4 cm. thick silica sand with the size between 0.295-0.420 mm. The level of turbidity in this research were 10, 30 and 50 NTU, the amount of the polyelectrolytes were 0.5, 1.0, 2.0, 5.0 and 10.0 mg/1. Results showed that N 8103 could be the most suitable one because of it provided the lowest F-NUMBER. The second part, using filter column 42.0 mm. diameter, consisted of anthracite coal 45.5 cm. height (ES=1.30, UC=1.50) and silica sand 24.5 cm. height (ES=0.55, UC=1.50), G value approximately 600 S- ¹ and contact time was about 2.5 S. The variable parameters were the level of turbidity at 10, 30 and 50 NTU, filtration rate at 5, 10 and 15 m/hr, the polyelectrolyte’s dosing st 0.1, 0.5 and 1.0 mg/1. Results showed that N 8103 could be used effectively with 10 NTU synthetic water at 0.1 mg/1 dose and 15 m/ht filtration rate. The filter run time was 19 hrs. and was terminated due to excessing headloss. The results also tending to be concluded that the filter run time and the filtrate turbidity varied in proposion to the initial turbidity of raw water and the backwash water varied in proposion to the added coagulant. Furthermore, many experiments used C 2830 at 0.1 mg/1 and alum at 0.5, 1.0, 2.0, 5.0 and 10.0 mg/1 with 10 NTU systhetic water. It was found that C 2830 could be effectively used but the length of filter run was only 9 hrs. When experimented raw water from klong prapa with about 60 NTU turbidity and using N 8103 at 0.1, 0.25, 0.5 and 1.0 mg/1 and then diluted them to 10 NTU using N 8103 at 0.1 and 1.0 mg/1. It was found that N 8103 could be effectively used by 0.1 mg/1 when used with the diluted raw water from klong prapa and it’s run time was 19 hrs.
dc.format.extent7518203 bytes
dc.format.extent876460 bytes
dc.format.extent13573228 bytes
dc.format.extent8993073 bytes
dc.format.extent21079926 bytes
dc.format.extent1078092 bytes
dc.format.extent531179 bytes
dc.format.extent28406370 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการใช้สารพอลิอิเล็กโทรไลต์ในระบบการกรองโดยตรงen
dc.title.alternativeUses of polyelectrolytes in direct filtration systemen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Poonsiri_ta_front.pdf7.34 MBAdobe PDFView/Open
Poonsiri_ta_ch1.pdf855.92 kBAdobe PDFView/Open
Poonsiri_ta_ch2.pdf13.26 MBAdobe PDFView/Open
Poonsiri_ta_ch3.pdf8.78 MBAdobe PDFView/Open
Poonsiri_ta_ch4.pdf20.59 MBAdobe PDFView/Open
Poonsiri_ta_ch5.pdf1.05 MBAdobe PDFView/Open
Poonsiri_ta_ch6.pdf518.73 kBAdobe PDFView/Open
Poonsiri_ta_back.pdf27.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.