Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนพพงษ์ บุญจิตราดุลย์
dc.contributor.authorอารีย์ เกิดปั้น
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2013-06-20T04:03:06Z
dc.date.available2013-06-20T04:03:06Z
dc.date.issued2534
dc.identifier.issn9745791245
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32342
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา และเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์เกี่ยวกับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7 โดยใช้ทฤษฎีพฤติกรรมทางสังคมขององค์การตามแนวคิดของ เกทเซลส์ และ กูบา ( Jacob W. Getzels and E.G. Guba ) ซึ่งโรเบอรต์ พี โมเซอร์ ( Robert P. Moser ) ได้นำมาจำแนกแบบภาวะผู้นำออกเป็น 3 แบบ ได้แก่ ผู้นำที่ยึดสถาบันเป็นหลัก ผู้นำที่ยึดบุคคลเป็นหลัก และผู้นำที่ยึดการประสานประโยชน์เป็นหลัก ผลการวิจัยพบว่า โดยส่วนรวมผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7 มีภาวะผู้นำที่ยึดการประสานประโยชน์เป็นหลักมากที่สุด รองลงไปคือ แบบยึดบุคคลเป็นหลัก และแบบยึดสถาบันเป็นหลักตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์ เกี่ยวกับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมทั้ง 3 แบบ ดังกล่าว ปรากฏว่า ผู้บริหารและอาจารย์มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to study and compare the opinions of administrators and teachers concerning leadership styles of administrators of life quality and social development in secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education, Educational Region VII. The conceptual framework of the research included three leadership styles; Nomothetic, Idiographic and Transactional, adapted from the social behavior organizational theory of Jacob W. Getzels and E.G. Guba by Robert P. Moser. The research findings revealed that the leadership styles of the administrators of life quality and social development in secondary schools under the jurisdiction of the Department of General Education, Educational Region VII were mostly transactional, followed by nomothetic and Idiographic styles respectively. It was also found that the administrators and teachers opinions concerning leadership styles of administrators of life quality and social development in secondary schools were significantly different at the .05 level.
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์เกี่ยวกับแบบภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม สังกัดกรมสามัญศึกษา เขตการศึกษา 7en
dc.title.alternativeOpinions of administrators and teachers concerning leadership styles of administrtors of life quality and society development secondary schools under the jurisdiction of the department of general eduaction, educational region sevenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aree_ker_front.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ker_ch1.pdf6.66 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ker_ch2.pdf10.14 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ker_ch3.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ker_ch4.pdf10.46 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ker_ch5.pdf4.64 MBAdobe PDFView/Open
Aree_ker_back.pdf12.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.