Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33300
Title: | Comparative study of the Sutta Nipata and the Lotus Sutra |
Other Titles: | การศึกษาเปรียบเทียบสุตตนิบาตกับสัทธรรมปุณฑริกสูตร |
Authors: | Horii, Reiichi |
Advisors: | Somparn Promta |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
Advisor's Email: | Somparn.P@Chula.ac.th |
Subjects: | Buddhist preaching Mahayana Buddhism Hinayana Buddhism พระสูตร พุทธศาสนามหายาน พุทธศาสนาเถรวาท |
Issue Date: | 2010 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Literally, the small or inferior vehicle, Hinayana was designation used by the Mahayana schools to denote the perceived shortcoming of their predecessors. Mahayana criticized Hinayana principally for stressing benefits to the individual alone through its goal of self-perfection and release from the bonds of existence. The other hand, Sectarian Buddhism (Nikaya Buddhism or the Abhidharma schools) apparently claimed that the new Mahayana sutras were the teachings of devils, not the Buddha. This assertion was revived in Japan in the latter part of the nineteenth century, when Western historical research methods were first applied to Buddhology. As a result, some scholars considered that Mahayana was not the direct teaching of the historical Buddha. If the Buddha’s teaching is defined strictly as the actual word of Shakyamuni, however, then even the teachings recorded in the Agamas are not original: the Agama did not take their present form until several hundred years after the Buddha’s death, and in the course of their transmission both conscious and unconscious changes were introduced. I have heard that modern scholars agree that it is justifiable to regard as the Buddha’s teaching whatever expounds the Law accurately and transmits its spirit. From this point of view, Mahayana scriptures must be accepted as part of the Buddha’s teaching. In the thesis, I try to search for underlying both the Sutta Nipata and the Lotus Sutra. |
Other Abstract: | หีนยาน ตามตัวอักษรมีความหมายว่า ยานที่เล็กหรือด้อยกว่า ซึ่งเป็นคำที่นิกายมหายานใช้ชี้แสดงจุดอ่อนของคำสอนก่อนหน้า จุดสำคัญที่มหายานวิพากษ์วิจารณ์หีนยานคือ เรื่องที่เอาแต่เน้นถึงผลบุญส่วนตัวเท่านั้น ตามเป้าหมายของการทำตัวเองให้สมบูรณ์ และหลุดพ้นจากพันธการของการดำรงอยู่ในอีกด้านหนึ่ง พุทธศาสนานิกายต่างๆ (หรือนิกายอภิธรรม) ก็ได้กล่าวอ้างอย่างชัดเจนว่าพระสูตรของมหายานใหม่เป็นคำสอนของมาร ไม่ใช่คำสอนของพระพุทธองค์ ซึ่งคำกล่าวนี้มีการพูดกันขึ้นมาใหม่ในประเทศญี่ปุ่น ตอนช่วงปลายศตวรรษที่ 19 เมื่อมีการนำเอาวิธีการวิจัยทางประวัติศาสตร์ของซีกโลกตะวันตกมาใช้ในพุทธวิทยาเป็นครั้งแรก ผลปรากฏว่า นักวิชาการบางคนถือว่า มหายานไม่ใช่คำสอนโดยตรงของพระพุทธองค์ในทางประวัติศาสตร์ แต่ถ้าคำสอนของพระพุทธองค์ถูกนิยามอย่างเคร่งครัดว่า เป็นคำพูดที่แท้จริงของพระศากยมุนีพุทธะแล้ว แม้แต่คำสอนที่ได้รับการบันทึกไว้ในอาคมสูตร ก็จะไม่ใช่คำสอนดั้งเดิม ทั้งนี้ก็เพราะว่า อาคมสูตรไม่ได้มีลักษณะดังเช่นปัจจุบัน จนกระทั่งเมื่อหลายร้อยปีภายหลังการเสด็จปรินิพานของพระพุทธองค์ และในระหว่างการสืบทอดก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงต่างๆ เกิดขึ้นทั้งทางตรงและทางอ้อมผมได้ยินมาว่า นักวิชาการสมัยใหม่เห็นพ้องว่า การพิจารณาว่าคำสอนของพระพุทธองค์ ไม่ว่าจะเป็นการเทศนาธรรมอย่างถูกต้องและการสืบทอดทางจิตวิญญาณนั้น เป็นเรื่องที่สมเหตุสมผลจากจุดทรรศนะนี้ พระสูตรมหายานจึงเป็นคำสอนที่ต้องได้รับการยอมรับในฐานะส่วนหนึ่งของคำสอนของพระพุทธองค์ |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2010 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Buddhist Religion Studies |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33300 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.802 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2010.802 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
reiichi_ho.pdf | 679.65 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.