Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4187
Title: | การพัฒนาซอฟท์แวร์เพื่อหาพารามิเตอร์ ของแรงดันทดสอบอิมพัลส์รูปคลื่นฟ้าผ่า |
Other Titles: | Development of a software for determining lightning impulse test voltage parameters |
Authors: | ศรณรงค์ สุวรรณธนารักษ์ |
Advisors: | คมสัน เพ็ชรรักษ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Komson.P@chula.ac.th |
Subjects: | แรงดันอิมพัลส์ พลังงานไฟฟ้า |
Issue Date: | 2542 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | เสนออัลกอริทึมสำหรับการวิเคราะห์หาพารามิเตอร์ ของแรงดันอิมพัลส์ฟ้าผ่าเต็มและแรงดันอิมพัลส์ฟ้าผ่าสับ ที่วัดได้จากดิจิติลออสซิลโลสโคปโดยใช้แนวมาตรฐาน IEC 60-1 ทฤษฎีที่ใช้ในการหารูปคลื่นเฉลี่ยได้แก่ วิธีการประดิษฐ์ฟังก์ชันไม่เป็นเชิงเส้นแบบกำลังสองน้อยสุด โดยมีเทคนิคของการเขียนได้แก่ การแบ่งการเขียนเป็น 2 ครั้ง สำหรับรูปคลื่นเต็ม โดยเริ่มจากการเขียนส่วนหลังคลื่นเป็นอันดับแรก และเขียนส่วนหน้าคลื่นเป็นลำดับต่อมา สำหรับการเขียนรูปคลื่นเฉลี่ยของรูปคลื่นสับที่หน้าคลื่น เทคนิคที่ใช้ได้แก่ การตรึงพารามิเตอร์ของฟังก์ชันแบบจำลองบางค่าให้คงที่ อัลกอริทึมที่ได้พัฒนาขึ้นดังกล่าวได้นำมาพัฒนาเป็นซอฟท์แวร์ และนำไปทดสอบตามมาตรฐาน IEC 1083-2 ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ซอฟท์แวร์ที่พัฒนาขึ้น สามารถวิเคราะห์หาพารามิเตอร์ของรูปคลื่นอ้างอิง กรณีที่ 1, 2, 3, 4, 6, 7, 11, 12, 13 ได้ถูกต้องสอดคล้องกับมาตรฐาน สำหรับพารามิเตอร์ของรูปคลื่นอ้างอิงกรณีที่ 3 และ 8 สามารถปรับปรุงได้โดยการปรับการหาค่าฐาน ก่อนที่จะนำไปทำให้เป็นบรรทัดฐาน หรือการปรับพารามิเตอร์ของเอสจีฟิลเตอร์ให้เหมาะสม และการปรับการหาจุดกำเนิดของรูปคลื่น เพื่อเขียนรูปคลื่นเฉลี่ยตามลำดับ สำหรับรูปคลื่นอ้างอิงกรณีที่ 14 นั้น เนื่องจากเป็นรูปคลื่นที่ได้จากการทดสอบจริง เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินค่าพารามิเตอร์ของผู้เขียนมาตรฐาน อาจไม่ตรงกับเกณฑ์ที่ใช้ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ พารามิเตอร์บางค่าที่หาได้จึงมีความแตกต่างกัน |
Other Abstract: | Presents an algorithm for analyzing parameters of full and chopped (on front) lightning impulse voltage, obtained from a digital oscilloscope, according to IEC 60-1 standard. Theory used to write a mean curve is "Nonlinear least square curve fitting method". There are some techniques used to write this mean curve. For full wave, we divide curve fitting procedure into two stage- the first stage is tail wave part fitting, and the second one is front wave part fitting. To write a mean curve for chopped (on front) wave, technique applied is keeping some model function parameters fixed. The algorithm developed as presented before is evolved into a software and tested with IEC 1083-2 standard. The result shows that the developed software can analyze parameters of reference waveform in case 1, 2, 3, 4, 6, 7, 11, 12 and 13 correctly corresponding to the standard. In the case of reference waveforms in case 3 and 8, we can improve by adjusting the base value finding procedure which occur before the normalization, adjusting the parameters of S.G. filter suitably, and adjusting the origin finding procedure which used to write a mean curve. Because the reference waveform case 14 is a measured one, the parameters judgement criteria used by the standard composer may differ from the one used in this thesis. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมไฟฟ้า |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4187 |
ISBN: | 9743338403 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
sornnarong.pdf | 10.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.