Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัทธร พิทยรัตน์เสถียร-
dc.contributor.authorแก้วกุล ตันติพิสิฐกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-04-04T08:52:38Z-
dc.date.available2014-04-04T08:52:38Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42122-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการใช้สัตว์ช่วยบำบัดเป็นการรักษาทางเลือกที่ยังใหม่ และยังไม่มีผลการศึกษาที่ชัดเจนโดยเฉพาะในประเทศไทย นอกจากนี้สัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่สามารถรับรู้อารมณ์ความรู้สึกของมนุษย์และตอบสนองกลับได้ รวมไปถึงยังต้องการการดูแลเอาใจใส่เพื่อการมีชีวิตรอด เป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนาคุณค่าในตัวเด็ก การวิจัยนี้จึงศึกษาผลของการใช้กระต่ายช่วยบำบัดต่อความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ภาวะซึมเศร้า และความสุขของเด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรม เพื่อช่วยเพิ่มทางเลือกในการบำบัดเด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรม ผลของการบำบัดนำมาเป็นแนวทางในการปรับประยุกต์ใช้กับการช่วยเหลือเด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรมและเด็กอื่นๆ กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรมทางเพศ ร่างกายและจิตใจที่อยู่ภายใต้การดูแลสถานพัฒนาและฟื้นฟูเด็ก จังหวัดลำปาง อายุ13-18 ปี จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบประเมินการเห็นคุณค่าในตนเอง แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และความสุข ของเด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรม ก่อน หลัง และหนึ่งเดือนหลังทำการทำโปรแกรมกระต่ายช่วยบำบัด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าอัตราส่วน ร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความแตกต่างของการเห็นคุณค่าในตนเอง ภาวะซึมเศร้าและความสุขของเด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรม สรุปผลการทดลองด้วยสถิติ Generalized Estimating Equations (GEE) และ paired t-test ผลของการใช้โปรแกรมกระต่ายช่วยบำบัดพบว่าโปรแกรมสามารถช่วยให้เด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรมเห็นคุณค่าในตนเองเพิ่มขึ้น ลดภาวะซึมเศร้า และมีความสุขได้ระดับหนึ่ง อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeAnimal-assisted therapy is a new alternative therapy with limited evidence, especially in Thailand. The animal is a creature that receives and responds to human emotion for caring his/her life to be alive. This part will be an important to increase value of children. The objective of this study was to examine the effects of rabbit-assisted therapy on self-esteem, depression and happiness on abused children. The effects of therapy will be applied to help and treat other children. Participants were 22 children, who were sexually or physically or emotionally abused. They were 13-18 years old and stayed at Lampang Child Development and Rehabilitation Center. The research instruments were: General Questionnaires, Coopersmith Self-Esteem Inventory (CSEI), Children Depression Inventory (CDI), Happiness (Face Scale) and Intervention of Rabbit-Assisted Therapy Program. Data were analyzed by descriptive statistics and compared mean difference score of self-esteem, depression and happiness of abused children by Generalized Estimating Equations (GEE) and paired t-test. The results showed that rabbit-assisted therapy could increase self-esteem and happiness and reduce depression of abused children, although the effects were not statistically significant.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.715-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectจิตวิทยาเด็กen_US
dc.subjectเด็กที่ถูกทารุณ -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectความนับถือตนเองในเด็กen_US
dc.subjectความซึมเศร้าในเด็ก -- การรักษาen_US
dc.subjectความสุขในเด็กen_US
dc.subjectChild psychologyen_US
dc.subjectAbused children -- Psychologyen_US
dc.subjectSelf-esteem in childrenen_US
dc.subjectDepression in children -- Treatmenten_US
dc.subjectHappiness in childrenen_US
dc.titleผลของการใช้กระต่ายช่วยบำบัดต่อความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ภาวะซึมเศร้า และความสุขของเด็กที่ถูกกระทำทารุณกรรมen_US
dc.title.alternativeEffects of rabbit-assisted therapy on self-esteem, depression and hapinness of abuseden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.715-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kaewkul_ta.pdf10.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.