Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42753
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเนื่องน้อย บุณยเนตรen_US
dc.contributor.advisorเกษม เพ็ญภินันท์en_US
dc.contributor.authorปิยฤดี ไชยพรen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:20:58Z
dc.date.available2015-06-24T06:20:58Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42753
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อแสดงให้เห็นว่าโจทย์ปัญหาเรื่องความชอบธรรมที่จอห์น รอลส์ (John Rawls) ตั้งไว้ชี้ให้เห็นถึงนัยยะที่เป็นปัญหาอย่างลึกซึ้งของปรากฏการณ์ของพหุนิยมทางคุณค่า (value pluralism) ต่อสังคมเสรีประชาธิปไตย โจทย์นี้มีหัวใจอยู่ที่ว่า ในสังคมชนิดนี้ที่สมาชิก ทุกคน ต่างมีสถานะเป็นบุคคลที่เสรีและเสมอภาคกัน ทว่ายึดถือใน ลัทธิความเชื่อที่ครอบคลุม ที่แตกต่างกันนั้น คนเหล่านี้จะสามารถได้ หลักการและอุดมคติ ที่พวกเขาสามารถตกลงยอมรับร่วมกันได้มาจากที่ใด สำหรับมาใช้เป็นพื้นฐานรองรับให้แก่สถาบันระดับฐานรากของสังคม เช่น กฎหมายรัฐธรรมนูญและสถาบันหลักของสังคม และเพื่อตอบปัญหาเรื่องความยุติธรรมที่ตามมาจากการทำงานของสถาบันเหล่านั้นที่ส่งผลให้คนในสังคมได้รับจัดสรรสิทธิ ประโยชน์และหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างไม่เท่าเทียมกัน? วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ชี้ว่าโจทย์ปัญหานี้เป็นคำถามที่ตรงประเด็นและมีความสำคัญเร่งด่วนสำหรับสังคมเสรีประชาธิปไตย ทว่าแนวทางทั้งหมดเท่าที่มีอยู่สำหรับใช้ตอบโจทย์นี้ ทั้งที่เสนอโดยนักทฤษฎีพหุนิยมทางคุณค่าและนักทฤษฎีเสรีนิยมซึ่งรวมถึงตัวรอลส์เองด้วยนั้น ล้วนแต่ยังคงมีข้อจำกัดที่ทำให้ไม่สามารถตอบโจทย์นี้ได้อย่างน่าพอใจ จากนั้นวิทยานิพนธ์จึงนำเสนอเนื้อหาของทฤษฎีจริยศาสตร์แบบพันธสัญญาเรื่อง “หน้าที่ที่บุคคลพึงมีต่อกันและกัน” (what we owe to each other) ของโทมัส สแคนลอน (Thomas Scanlon) ที่มีหัวใจอยู่ที่แนวคิดเรื่อง การสามารถให้เหตุผลสนับสนุนแก่ผู้อื่นบนพื้นฐานที่ไม่มีผู้ใดสามารถปฏิเสธได้ (justifiability to others on grounds that no one can reasonably reject) และวิเคราะห์ให้เห็นว่ามีองค์ประกอบหลัก ๓ เรื่องจากทฤษฎีจริยศาสตร์เรื่องนี้ที่สามารถนำไปใช้สร้างเป็นทางออกรูปแบบใหม่สำหรับตอบโจทย์ปัญหาของรอลส์ได้อย่างน่าพอใจยิ่งกว่าแนวทางที่ได้วิเคราะห์มาแล้วทั้งหมด ทางออกรูปแบบใหม่นี้ประกอบด้วยหลักการและอุดมคติพื้นฐานที่สามารถสร้างความเป็นเอกภาพให้แก่สังคม กระบวนการตัดสินใจสาธารณะ และหลักการอภิปรายสาธารณะแบบพันธสัญญาที่ชี้ให้เห็นได้ว่าพลเมืองในสังคมเสรีประชาธิปไตยที่เป็นพหุนิยมทางคุณค่าทุกคนมีเหตุผลที่ดีที่จะยอมรับen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis aims at exploring the deep and far-reaching ramifications value pluralism as a social phenomenon has for liberal democratic societies by using the question posed by John Rawls in his 1993 work Political Liberalism as an analytical and critical framework. This question is put as following: how can such societies whose members are free and equal but simultaneously espouse different comprehensive doctrines agree consensually on a common basis for legitimizing their basic structure and institutions? More specifically, the question is such that how can such societies agree on a set of principles and ideals which are acceptable to all as a basis for legitimizing those structure and institutions, given that people start out from very different kinds of premises in the first place. This thesis explores the ideas proposed by five key value pluralists and three key liberalists and demonstrates in what ways they are found wanting. It then explains three components from Thomas Scanlon’s theory of morality known as “what we owe to each other” that revolve around the notion of “justifiability to others on grounds that no one can reasonably reject” and proposes a new synthesis based on this notion which comprises not only a principle and ideal that can unify people, but also a decision procedure and a principle for public deliberation which each and every member of liberal democratic societies can be shown to have good reason to accept or find acceptable.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.217-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสแคนลอน, โทมัส
dc.subjectพหุนิยม
dc.subjectค่านิยม
dc.subjectคุณค่า
dc.subjectScanlon, Thomas
dc.subjectPluralism
dc.subjectValues
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิต
dc.titleโทมัส สแคนลอนกับทางออกแบบพันธสัญญาของปัญหาพหุนิยมทางคุณค่าen_US
dc.title.alternativeTHOMAS SCANLON AND A CONTRACTUALIST SOLUTION TO THE PROBLEM OF VALUE PLURALISMen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineปรัชญาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNuangnoi3@yahoo.comen_US
dc.email.advisorKasem.P@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.217-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5180508122.pdf4.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.