Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43548
Title: China's Outward FDI: A Study of Push and Pull Factors in Selected Asian Countries
Other Titles: การลงทุนทางตรงขาออกของประเทศจีน: การศึกษาปัจจัยดึงและปัจจัยส่งในประเทศเอเซียบางประเทศ
Authors: Jun Li
Advisors: Danupon Ariyasajjakorn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Economics
Advisor's Email: Danupon.a@chula.ac.th
Subjects: Foreign direct investments
Exports
Patents
การลงทุนทางตรงของต่างประเทศ
สินค้าออก
สิทธิบัตร
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This study is an attempt to identify China’s outward FDI (OFDI). The factors have been separated into push and pull factors. The pull factors are studied through panel OLS, while the co-integration method and Error Correction Model (ECM) are used to identify the push factors. Internalization Theory is the main conceptual framework. This result shows Asian exports of fundamental products and GDP per person employed are positively associated the OFDI. However, regulatory quality is negative. For the push factors, China’s foreign reserves, exchange rate, patents and wage are found to positively impact outward FDI. Nonetheless, China’s export and saving rate are negatively associated with China’s OFDI. Then the ECM shows that China’s patent has positively associated with China’s OFDI at 15% significance. When Chinese’s policies supported its OFDI since 2000, its OFDI increased rapidly.
Other Abstract: งานวิจัยฉบับนี้มุ่งเน้นในการวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการลงทุนโดยตรงไปยังต่างประเทศของประเทศจีน โดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการลงทุนโดยตรงสามารถแบ่งออกเป็นปัจจัยดึง (Pull Factors) และปัจจัยผลัก (Push Factors) จากการวิเคราะห์ข้อมูลลักษณะ Panel Data โดยใช้สมการถดถอย เพื่อหาปัจจัยดึงพบว่า การส่งออกสินค้าพื้นฐาน และรายได้ต่อหัว ของประเทศผู้รับทุนส่งผลบวกต่อการลงทุนโดยตรงไปยังต่างประเทศของจีน ในขณะที่กฎระเบียบ ต่าง ๆ ส่งผลลบต่อการลงทุนดังกล่าว สำหรับปัจจัยผลักนั้น เมื่อใช้กระบวนการวิเคราะห์แบบ Co-integration พบว่า เงินสำรองของจีน อัตราแลกเปลี่ยน จำนวนสิทธิบัตร และ ค่าจ้าง เป็นปัจจัยผลักสำคัญสำหรับการลงทุนโดยตรงขาออกจากจีน โดยส่งผลทางบวกต่อการลงทุน และเมื่อวิเคราะห์ผ่าน Error Correction Model แล้วพบว่าจำนวนสิทธิบัตรของจีนเป็นปัจจัยผลักที่ส่งผลบวกต่อการออกไปลงทุนทางตรงในต่างประเทศของจีน อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์ถึงภาพรวมแล้วจะเห็นได้ว่า ปัจจัยผลักที่สำคัญที่สุดคือนโยบายส่งเสริมการลงทุนโดยตรงขาออกของจีน ซึ่งเริ่มใช้เมื่อปี ค.ศ. 2000 ทำให้การลงทุนโดยตรงขาออกของจีนเพิ่มขึ้นอย่างมากตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: International Economics and Finance
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43548
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1005
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.1005
Type: Thesis
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5585656629.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.