Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45133
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชญา ไชยวุฒิกรณ์วานิช-
dc.contributor.authorเกียรติพงษ์ นิรันดร-
dc.contributor.authorปรัชญ์กรณ์ ยาทุม-
dc.contributor.authorวัฒนา อุ่นพาณิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-09-10T06:35:50Z-
dc.date.available2015-09-10T06:35:50Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45133-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2014en_US
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของความไม่ซื่อสัตย์ทางการศึกษากับผลสัมฤทธิทางการเรียน โดยมีตัวแปรความมีศีลธรรมเป็นตัวแปรกำกับ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวนทั้งสิ้น 144 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดความไม่ซื่อสัตย์ทางการศึกษา มาตรวัดความมีศีลธรรม และ มาตรวัดความต้องการเป็นที่ยอมรับในสังคม (ใช้เพื่อคัดกรองกลุ่มตัวอย่าง) ผลการวิจัยพบว่า 1. จากผลการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์พบว่าค่าสหสัมพันธ์ระหว่างความไม่ซื่อสัตย์ทางการศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีค่าเท่ากับ -.221 (p = .004, หนึ่งหาง) 2. จากผลการวิเคราะห์ตัวแปรกำกับโดยใช้โปรแกรม PROCESS ของ Hayes (2013) พบว่าความมีศีลธรรมไม่เป็นตัวแปรกำกับ (p = .52)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study relationship between academic dishonesty and academic achievement with morality as moderator. Participants were 144 Chulalongkorn University students. Participants were asked to complete the academic dishonesty scale, the morality scale, and the social desirability scale as a lie scale. Findings are as follows; 1. The correlation between academic dishonesty and academic achievement is -.221 (p = 0.04, one-tailed). 2. The morality did not moderate the relationship between academic dishonesty and academic achievement.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.883-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectศีลธรรมจรรยาen_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectการหลงตนเองen_US
dc.subjectการทุจริต (การศึกษา)en_US
dc.subjectAcademic achievementen_US
dc.subjectNarcissismen_US
dc.subjectCheating (Education)en_US
dc.titleความสัมพันธ์ของความไม่ซื่อสัตย์ทางการศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยมีตัวแปรความมีศีลธรรมเป็นตัวแปรกำกับen_US
dc.title.alternativeThe relationship of academic dishonesty and academic achievement : The moderating effect of moralityen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorapitchaya.c@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.883-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
keatipong_ni.pdf3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.