Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45435
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพโรจน์ ลดาวิจิตรกุลen_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ พิทักษ์ธรรมคุณen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:01:55Z-
dc.date.available2015-09-17T04:01:55Z-
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45435-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractอุปกรณ์ชี้ตำแหน่งสำหรับงานคอมพิวเตอร์มีหลากหลายชนิด โดยเฉพาะเมาส์ ถือเป็นอุปกรณ์มาตรฐานที่ใช้อย่างแพร่หลาย เมาส์การยศาสตร์ หรือเมาส์ที่มีองศาการเอียงเหมาะสมกับสรีระของร่างกายจึงถูกออกแบบมาเพื่อลดภาวะความเสี่ยงในการเกิดโรคการกดทับเส้นประสาทบริเวณข้อมือ แต่เมาส์การยศาสตร์กลับไม่เป็นที่แพร่หลายหรือเป็นมาตรฐานเนื่องจากปัญหาราคาของเมาส์การยศาสตร์ที่สูงกว่าเมาส์ธรรมดาและความไม่ถนัดในการใช้งาน ซึ่งสามารถหาได้โดยการศึกษาสมรรถนะ งานวิจัยนี้ได้เปรียบเทียบสมรรถนะการทำงานของเมาส์ธรรมดากับเมาส์การยศาสตร์ ตามทฤษฎีสเตียร์ริ่ง steering law โดยเมาส์ที่นำมาศึกษามีลักษณะต่างกัน 3 ระดับ ที่ส่งผลต่อการบิดเอียงของข้อมือ คือเมาส์ธรรมดามุมเอียง 0 องศา เมาส์การยศาสตร์มุมเอียง 45 องศา และเมาส์การยศาสตร์มุมเอียง 90 องศา ปัจจัยทิศทางการลากเมาส์ 2 ระดับ คือ ตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกา และ ปัจจัยวิธีการใช้งานเมาส์ 2 ระดับ คือ ลากเมาส์โดยไม่คลิกเมาส์ และการลากเมาส์โดยการคลิกเมาส์ โดยผู้เข้าร่วมการทดลอง 10 คน อายุระหว่าง 18-35 ปี ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยมุมเอียงของเมาส์มีผลต่อสมรรถนะการใช้งานเมาส์ไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.description.abstractalternativeThere are many kind pointing devices for computer usage especially mouse is a widely-used standard device which can affect user if using it for a long time. Therefore, ergonomic mouse has been designed for human comfort low CTS risk. However, ergonomic mouse is not widely-use because of expensive and unfamiliarity of each person that can determine by evaluation of performance. This research would compare the using performance of a regular mouse and 2 ergonomic mouse based on steering law by comparing mouse with 3 difference of wrist angle, regular mouse of wrist angle 0 degree, ergonomic mouse of wrist angle 45 degree and 90 degree.2 different directions which are clockwise and counterclockwise and 2 different operations are drag without click and drag with click. 10 volunteer participants edge between 18-35 year.Research results from full factorial statistical analyses show that the work performances for 3 mouse wrist angles had no difference at 0.05 significant levels.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการประเมินสมรรถนะของการลากเมาส์การยศาสตร์ตามแนวทางของ STEERING LAWen_US
dc.title.alternativePERFORMANCE EVALUATION OF DRAG ERGONOMIC MOUSE BASED ON STEERING LAWen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPhairoat.L@Chula.ac.th,phairoat@hotmail.comen_US
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5471070321.pdf3.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.