Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45474
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทรงพันธ์ เจิมประยงค์en_US
dc.contributor.authorธนพรรณ ธนันทาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:02:20Z
dc.date.available2015-09-17T04:02:20Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45474
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ความสามารถในการใช้ได้ของการสืบค้นรายการออนไลน์แบบแฟซิทและแบบข้อความในด้านความสามารถในการเรียนรู้ ความผิดพลาดในการใช้ ประสิทธิภาพในการสืบค้น และความพึงพอใจของผู้ใช้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการทดสอบความสามารถในการใช้ได้โดยใช้วิธีศึกษาแบบการทดลองแบบไขว้ ผู้วิจัยได้แบ่งผู้เข้าร่วมศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม ที่มีลำดับการใช้หน้าจอสืบค้นต่างกัน ผู้เข้าร่วมศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ไม่มีประสบการณ์ใช้ระบบสืบค้นห้องสมุดอัตโนมัติมาก่อน จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยนี้ ได้แก่ แบบทดสอบความสามารถในการใช้ได้ หน้าจอการสืบค้นรายการออนไลน์ แบบสังเกต แนวทางการสัมภาษณ์ตามกระบวนการคิดออกเสียง และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ผลการวิจัยในด้านความสามารถในการเรียนรู้ พบว่า ผู้เข้าร่วมศึกษาส่วนใหญ่เห็นว่า การสืบค้นรายการออนไลน์ทั้งแบบแฟซิทและแบบข้อความ มีเนื้อหาเข้าใจง่าย ใช้งานง่ายเมื่อใช้เป็นครั้งแรก สามารถจำกัดการสืบค้นได้ง่าย หน้าจอสืบค้นมีผังที่เหมาะสมและสะดวกต่อการใช้งาน อย่างไรก็ตามผู้เข้าร่วมศึกษาบางคนเห็นว่าเครื่องมือนำทางบนหน้าจอสืบค้นแบบแฟซิทไม่มีความชัดเจน ผลการวิจัยในด้านความผิดพลาดในการใช้ พบว่า ผู้เข้าร่วมศึกษาส่วนใหญ่ประสบปัญหาการป้อนคำค้นไม่ถูกต้องของการสืบค้นรายการออนไลน์ทั้งสองรูปแบบ ด้านประสิทธิภาพในการสืบค้น พบว่า การสืบค้นรายการออนไลน์เชิงสำรวจภาษาอังกฤษแบบแฟซิทใช้ระยะเวลาน้อยกว่า และมีอัตราความแม่นยำและการเรียกซ้ำน้อยกว่าการสืบค้นแบบข้อความอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านความพึงพอใจโดยรวมพบว่า ผู้เข้าร่วมศึกษาพึงพอใจต่อการสืบค้นรายการออนไลน์แบบข้อความมากกว่าแบบแฟซิทen_US
dc.description.abstractalternativeThis study aimed to investigate the usability of facet-based and text-based online catalog search interfaces, in terms of, learnability, errors, efficiency, and user satisfaction. This study applied a cross-over usability testing approach, consisting of two treatment arms with different usability testing sequences. Twelve high-school students of Benjama Thep Uthit School who have not used an online library catalog were recruited. The instruments of this study included a usability testing instruction, online catalog search interfaces, memo notes from direct observation, guidelines for think-aloud protocol, and semi-structured interview guidelines. In terms of learnability, participants expressed that both search interfaces were easy to use and it was easy to understand the content as well as to apply search limitations. In addition, the layouts of both interfaces were perceived as appropriate and convenient. However, some participants indicated that the navigation tool on facet-based interface was confusing. Some had difficulties understanding technical terms used on both interfaces. The most frequent mistake during the tests was entering incorrect search terms on both interfaces. For exploratory search of English language items tasks, facet-based search significantly yielded shorter search time, and lower precision and recall rates than text-based search. In terms of user satisfaction, participants were generally satisfied with text-based rather than facet-based interfaces.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.937-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectรายการบรรณานุกรม
dc.subjectระบบห้องสมุดอัตโนมัติแบบบูรณาการ
dc.subjectการค้นคืนสารสนเทศ
dc.subjectLibrary catalogs
dc.subjectIntegrated library systems (Computer systems)
dc.subjectInformation retrieval
dc.titleความสามารถในการใช้ได้ของการสืบค้นรายการออนไลน์แบบแฟซิทและแบบข้อความen_US
dc.title.alternativeUSABILITY OF FACET-BASED AND TEXT-BASED ONLINE CATALOG SEARCHen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsongphan.c@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.937-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5480144622.pdf6.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.