Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46769
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorชยภูมิ ชูวีระเดช-
dc.contributor.authorวัชรพล ศิลาวรรณ-
dc.contributor.authorตะวันรัตน์ รุ่งปัญญารัตน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-09-30T01:59:55Z-
dc.date.available2015-09-30T01:59:55Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.otherPSP5707-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46769-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยทางจิตวิทยาต่อความตั้งใจในการแสดงพฤติกรรมการซื้อถุงยางอนามัยของกลุ่มวัยรุ่น ในเขตกรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมการวิจัยมีจำนวน 300 คน อายุ18-24ปี ใช้วิธีการสุ่มโดยบังเอิญ โดยวัดตัวแปรทั้งสิ้น 4 ตัวแปร ดังนี้ ความตั้งใจ(intention) ทัศนคติที่มีต่อพฤติกรรม (Attitude Toward the Behavior) การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (Subjective Norm) และการรับรู้ความสามารถการควบคุมพฤติกรรม (Perceived Behavioral Control)วัดโดยใช้มาตรวัดที่พัฒนาขึ้นตามแนวคิดของ Francis et al.(2004) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยความตั้งใจในการซื้อถุงยางอนามัยมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับเจตคติต่อการซื้อถุงยางอนามัย (r = .410, p<.01, สองหาง)การคล้อยตามอิทธิพลของคนรอบข้าง(r = .685, p<.01, สองหาง)การรับรู้ความสามารถต่อพฤติกรรมการซื้อถุงยางอนามัย(r = .355, p<.01, สองหาง) โดยตัวแปรทำนายสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจในการซื้อถุงยางอนามัยได้ร้อยละ 50 (R2 = .502) โดย พบว่าการการคล้อยตามอิทธิพลของคนรอบข้างมีอิทธิพลสูงสุดในการทำนายความตั้งใจในการซื้อถุงยางอนามัย (B = .788, β = .591, p < .001) ตามมาด้วยเจตคติต่อการซื้อถุงยางอนามัย(B = .156, β = .153, p < .01) และการรับรู้ความสามารถต่อพฤติกรรมการซื้อถุงยางอนามัย(B = .139, β = .064, p < .05) หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์แยกตามเพศชายและหญิงพบว่า การคล้อยตามอิทธิพลของคนรอบข้างมีอิทธิพลสูงสุดในการทำนายความตั้งใจในการซื้อถุงยางอนามัยของกลุ่มตัวอย่างนิสิตเพศชาย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (B = .638, β = .513, p < .001) ในขณะที่เพศหญิงการคล้อยตามอิทธิพลของคนรอบข้างมีอิทธิพลสูงสุดในการทำนายความตั้งใจในการซื้อถุงยางอนามัย (B = .638, β = .513, p < .001) ตามมาด้วยเจตคติต่อการซื้อถุงยางอนามัย(B = .236, β = .195, p < .001) โดยเมื่อนำทั้ง 2 กลุ่มมาเปรียบเทียบกันแล้วพบว่าตัวแปรพยากรณ์ทั้ง 3 ตัว คือ เจตคติต่อการซื้อถุงยางอนามัย การคล้อยตามอิทธิพลของคนรอบข้างและการรับรู้ความสามารถต่อพฤติกรรมการซื้อถุงยางอนามัยไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในการทำนายความตั้งใจในการซื้อถุงยางอนามัยของกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงและชายen_US
dc.description.abstractalternativeThis objective of this research was to study influence of psychology factors in intention of purchasing condom behavior among students in Bangkok. Participants were 300 college student, age 18-24. Data was analyzed by Enter Multiple Regression. Studied about these 4 factors; Intention of purchasing condom behavior, Attitude Toward the Behavior, Subjective Norm and Perceived Behavioral Control. Research results are as follows: Attitude Toward the Behavior, Subjective Norm and Perceived Behavioral Control were significantly correlated to Intention of purchasing condom behavior (r = .410, r = .685, r = .355, p<.01, two-tailed). Attitude Toward the Behavior, Subjective Norm and Perceived Behavioral Control were significantly predicted Intention of purchasing condom behavior (R2 = .502). All 3 factors had significant standardized coefficient with Subjective Norm had the most influenced to predicted Intention of purchasing condom behavior (B = .788, β = .591, p < .001) followed by Attitude Toward the Behavior (B = .156, β = .153, p < .01) and Perceived Behavioral Control (B = .139, β = .064, p < .05) respectively. By analyzed in separate group (male, female) the results shows that only Subjective Norm had significantly predicted the Male Intention of purchasing condom behavior (B = .638, β = .513, p < .001). While in Female, Subjective Norm (B = .638, β = .513, p < .001) followed by Attitude (B = .236, β = .195, p < .001) had significantly predicted the Intention of purchasing condom behavior. And when compare these 2 groups, the predicted factors had no significantly different in predicted Intention of purchasing condom behavior.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1373-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเพศสัมพันธ์en_US
dc.subjectถุงยางอนามัยen_US
dc.subjectวัยรุ่น -- พฤติกรรมทางเพศen_US
dc.subjectเจตคติen_US
dc.subjectAttitude (Psychology)en_US
dc.subjectCondomsen_US
dc.subjectAttitude (Psychology)en_US
dc.subjectAdolescence -- Sexual behavioren_US
dc.titleอิทธิพลของปัจจัยทางจิตวิทยาต่อความตั้งใจในการแสดงพฤติกรรมการซื้อถุงยางอนามัย ของกลุ่มวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeINFLUENCE OF PSYCHOLOGY FACTORS IN INTENTION OF PURCHASING CONDOM BEHAVIOR AMONG STUDENTS IN BANGKOKen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorsakkaphat.n@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1373-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chayapoom_ch.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.