Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4688
Title: | Mechanical properties of rubber wood-composites containing poly (styrene-co-acrylonitrile) and poly (methylmethacrylate-co-acrylonitrile) |
Other Titles: | สมบัติเชิงกลของไม้ยางพารา-คอมโพสิตที่ประกอบด้วยพอลิ(สไตรีน-โค-อะคริโลไนทริล) และพอลิ(เมทิลเมทาคริเลต-โค-อะคริโลไนทริล) |
Authors: | Siriluck Boonkrai |
Advisors: | Amorn Petsom |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Advisor's Email: | Amorn.P@Chula.ac.th |
Subjects: | Rubber wood Composite materials Polymethymethacrylate Polystyrene |
Issue Date: | 2000 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | In the course of the investigation for chemical constituents of the stem bark of Croton roxburghii N.P.Balakr., two new clerodane-type diterpenoids, 3[alpha], 4[beta]-dihydroxy-5[alpha], 10[beta]-trans-17[alpha], 20[alpha]-cleroda-13 (14)-en-15, 16-olide and 11-acetoxy-3[alpha], 4[beta]-dihydroxy-5[alpha], 10[beta]-trans-17[alpha], 20[alpha]-cleroda-13 (14)-en-15, 16-olide have been isolated from crude ethyl acetate extract. The structures of these compounds were established by analysis of their spectroscopic data (UV, IR, MS, 1-D NMR, 2-D NMR, and X-ray diffraction analysis) as well as comparision with previously reported values. Each compound was tested for cytotoxicity against various human tumor cell lines: BT 474 (breast cancer), HEP-G2 (hepatoma), SW 620 (colon cancer), CHAGO (lung cancer), and KATO-3 (gastric cancer). Both compounds showed no cytotoxic activity against all tested cancer cell lines. |
Other Abstract: | งานวิจัยนี้ได้เตรียมไม้ยางพารา-คอมโพสิตที่ประกอบด้วยพอลิ (สไตรีน-โค-อะคริโลไนทริล) และพอลิ (เมทิลเมทาคริเลต-โค-อะคริโลไนทริล) ด้วยวิธีการแช่ไม้ให้ชุ่มด้วยโมโนเมอร์ภายใต้การลดความดัน โดยศึกษาปริมาณของตัวริเริ่มปฏิกิริยา อัตราส่วนผสมของโมโนเมอร์ที่ใช้แช่ชิ้นไม้ และอุณหภูมิที่ใช้ในการทำให้เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน รวมทั้งศึกษาภาวะที่เหมาะสมของกระบวนการเตรียมไม้ยางพารา-คอมโพสิต เช่น เวลาที่ใช้ดึงอากาศออกจากช่องว่างในเซลล์ไม้ เวลาที่ใช้แช่ชิ้นไม้โดยแปรเปลี่ยนค่าเหล่านั้นให้แตกต่างกันในการเตรียมแต่ละตัวอย่าง ศึกษาสมบัติกายภาพและเชิงกลของตัวอย่างที่เตรียมขึ้นเปรียบเทียบกับไม้ยางพาราธรรมชาติ ไม้เต็ง และไม้มะค่าโมง ผลการศึกษานี้พบว่า 90 ส่วนของสไตรีนต่อเรซิน 100 ส่วนและ 10 ส่วนของอะคริโลไนทริลต่อเรซิน 100 ส่วนเหมาะสำหรับวิธีใช้ความร้อน สำหรับวิธีใช้ตัวช่วยเร่งปฏิกิริยาที่อุณหภูมิห้องใช้ 80 ส่วนของเมทิลเมทาคริเลตต่อเรซิน 100 ส่วนและ 20 ส่วนของอะคริโลไนทริลต่อเรซิน 100 ส่วน และภาวะที่เหมาะสมในการเตรียมดังนี้ คือ เวลาที่ใช้ดึงอากาศออกจากช่องว่างในเซลล์ไม้ 2 ชั่วโมง, เวลาที่ใช้แช่ชิ้นไม้ 4 ชั่วโมง ความดันที่ใช้ดึงอากาศออกจากเซลล์ไม้ 5x10 -3 ทอร์ และความเข้มข้นของตัวริเริ่มปฏิกิริยา 2 ส่วนต่อเรซิน 100 ส่วน ตัวอย่างไม้ยางพารา-คอมโพสิตที่เตรียมขึ้นจากสภาวะดังกล่าวให้ค่าการดูดซับน้ำและการพองตัวทางความหนาหลังแช่น้ำต่ำกว่าไม้ยางพาราธรรมชาติและไม้มะค่าโมงที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์อย่างมีนัยสำคัญยิ่งและสามารถทนต่อเชื้อราและปลวกดีพอๆ กับไม้เต็งและไม้มะค่าโมง ความสามารถในการต้านแรงดัด มอดูลัสยืดหยุ่น ความสามารถในการต้านแรงอัดทางขนาดแนวเสี้ยนได้รับการปรับปรุงดีกว่าไม้ยางพาราธรรมชาติ ไม้เต็ง และไม้มะค่าโมง |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2000 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Petrochemistry and Polymer Science |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4688 |
ISBN: | 9741313209 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siriluck.pdf | 21.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.