Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46889
Title: | ผลของการใช้เทคนิคตัวแบบ การชี้แนะ และการเสริมแรงทางบวกในการเรียนรู้คำศัพท์ใหม่ของเด็กดาวน์ซินโดรม ที่มีอายุระหว่าง 3-4 ปี ของโรงเรียนราชานุกูล |
Other Titles: | Effects of modeling, prompting and positive reinforcement technique on new vocabulary learning in down's syndrome children, aged three to four in Rajanukul School |
Authors: | สุรีย์ กสิวิทย์อำนวย |
Advisors: | พรรณทิพย์ ศิริวรรณบุศย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | เด็กปัญญาอ่อน -- การศึกษา เด็กพิการ -- การศึกษา |
Issue Date: | 2537 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผลของการใช้เทคนิคตัวแบบ การชี้แนะและการเสริมแรงทางบวกที่มีต่อการเรียนรู้คำศัพท์ใหม่ของเด็กดาวซินโดรมที่มีอายุระหว่าง 3-4 ปี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กปัญญาอ่อนประเภทดาวน์ซินโดรม ที่มีระดับสติปัญญา ระหว่าง 60-70 และมีอายุระหว่าง 3-4 ปี แบ่งกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองกลุ่มละ 5 คน กลุ่มทดลอง ได้รับการสอนตามโปรแกรมการสอนคำศัพท์ ที่ใช้เทคนิคตัวแบบ การชี้แนะและการเสริมแรงทางบวก ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ส่วนกลุ่มควบคุมไค้รับการสอบคำศัพท์ตามโปรแกรมปกติที่โรงเรียนจัดให้ใช้เวลา ทดลองทั้งสิ้น 10 สัปดาห์ กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองได้รับการทดสอบความสามารถการเรียนรู้คำศัพท์ ใหม่ด้านความเข้าใจคำศัพท์และด้านการใช้คำศัพท์ตลอดระยะเวลาการทดลองและสิ้นสุดระยะการ ทดลอง 1 สัปดาห์ (ระยะหลังการทดลอง) วิเคราะห์ข้อมูลโดยดูความแตกต่างของจำนวนคำศัพท์ (เฉพาะที่ได้ 3 คะแนน) ทีได้จากการทดสอบวัดความสามารถด้านความเข้าใจคาศัพท์และการใช้ คำศัพท์ของกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง และนำเสนอในรูปของตารางและกราฟ ผลการวิจัยพบว่า 1.ในระยะการทดลอง และระยะหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของจำนวน คำศัพท์ที่ได้จากการทดสอบวัดความสามารถด้านความเข้าใจคำศัพท์สูงกว่ากลุ่มควบคุม 2.ในระยะการทดลอง และระยะหลังการทดลอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยของจำนวนคำศัพท์ ที่ได้จากการทดสอบวัดความสามารถด้านการใช้คำศัพท์สูงกว่ากลุ่มควบคุม |
Other Abstract: | The purpose of this research was to study effects of the use of modeling, prompting and positive reinforcement technique on new vocabulary learning, receptive vocabulary ability and expressive vocabulary ability in Down's Syndrome children. The subjects in this study were 10 Down's Syndrome children aged 3-4. They were randomly selected to control and experimental groups equally. The experimental group was given an experimental program of vocabulary learning by using modeling, prompting and positivereinforcement technique. The control group studied dialy school program. The experimental program took 10 weeks. During the period of experimental program and one week after the finish of the program, the researcher evaluated all subjects with Receptive end Expressive Vocabulary Ability. The new vocabularies (3 score only) were presented in tables and graphs. The findings were as follows : 1.The experimental group learned more vocabularies (receptive ability) than the control group during ten weeks of experimental period and a week after experimental period (post-test). 2.The experimental group learned more vocabularies (expressive ability) than the control group during ten weeks of the experimental period and a week after experimental period (post-test). |
Description: | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537 |
Degree Name: | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | จิตวิทยา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/46889 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Suree_kas_front.pdf | 6.28 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_kas_ch1.pdf | 15.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_kas_ch2.pdf | 5.98 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_kas_ch3.pdf | 13.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_kas_ch4.pdf | 6.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_kas_ch5.pdf | 3.4 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Suree_kas_back.pdf | 9.36 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.