Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัชราภรณ์ บุญญศิริวัฒน์-
dc.contributor.authorเกวลี เกตุษา-
dc.contributor.authorจีระภา บุญเรืองอนันต์-
dc.contributor.authorอริศรา ไชยชมภู-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2016-02-16T11:19:37Z-
dc.date.available2016-02-16T11:19:37Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.otherPsy 158-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47173-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2011en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้จุดประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี เพศ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ในภาวะปกติ ทั้งพฤติกรรมป้องกันสุขภาพ และพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นตอนปลายอายุระหว่าง 17 - 25 ปี เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยได้แก่ 1) แบบวัดการมองโลกในแง่ดี 2) แบบวัดพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ผลการศึกษาพบว่า 1. การมองโลกในแง่ดีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมดูแลสุขภาพแบบป้องกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .35, p < .01) 2. การมองโลกในแง่ดีมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมดูแลสุขภาพแบบส่งเสริม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .20, p < .01) 3. เพศหญิงมีผลคะแนนรวมของพฤติกรรมดูแลสุขภาพแบบส่งเสริมสูงกว่าเพศชาย อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 4. เพศหญิงมีผลคะแนนรวมของพฤติกรรมดูแลสุขภาพแบบป้องกันสูงกว่าเพศชาย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = -2.09, p < .05) 5. การมองโลกในแง่ดีและเพศ ร่วมกันทำนายพฤติกรรมดูแลสุขภาพแบบป้องกัน อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 6. การมองโลกในแง่ดีและเพศ ร่วมกันทำนายพฤติกรรมดูแลสุขภาพแบบส่งเสริม อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study relationships among optimism, gender, and health behaviors. Participants were late adolescent aged 17 – 25 years old. Instruments were 1) an optimism scale and 2) a health behavior survey Results indicated that: 1. Optimism was positively correlated with preventive health behavior. (r = .35, p < .01) 2. Optimism was positively correlated with promotive health behavior. (r = .20, p < .01) 3. There was no difference in reported promotive health behavior between female and male participants. 4. There was difference in reported preventive health behavior between female and male participants. (t = -2.09, p < .05) 5. Only optimism, but not gender, significantly predicted preventive health behavior. 6. Only optimism, but not gender, significantly predicted promotive health behavior.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการมองโลกในแง่ดีen_US
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพในวัยรุ่นen_US
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectOptimismen_US
dc.subjectHealth behavior in adolescenceen_US
dc.subjectHealth promotionen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการมองโลกในแง่ดี เพศ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพen_US
dc.title.alternativeRelationship among optimism, gender, and health behaviorsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorwatcharaporn.p@chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
gaewlee_ga.pdf699.35 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.