Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47637
Title: | เครื่องดื่มจากน้ำผัก-ผลไม้ผสมนมผึ้ง |
Other Titles: | Fruit and vegetable drink with royal jelly |
Authors: | วัลลีย์ ชาญสุขสุรโชติ |
Advisors: | พันธิพา จันทวัฒน์ รมณี สงวนดีกุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | Pantipa.J@Chula.ac.th ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | น้ำผัก น้ำผลไม้ นมผึ้ง |
Issue Date: | 2538 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาสูตรน้ำผัก-ผลไม้ผสม โดยแปรอัตราส่วนของน้ำสับปะรด น้ำเสาวรส และน้ำแครอท เป็น 9:0:1, 8:1:1, 7:2:1, 6:3:1, 5:4:1, 4:5:1, 3:6:1 และ 2:7:1 ตามลำดับ เลือกสูตรที่ดีที่สุดนำมาปรับรสชาติน้ำตาลทรายโดยแปรปริมาณเป็น 0, 3, 6, 9 และ 12% W/V ขั้นตอนต่อมาศึกษาชนิดและปริมาณสารให้เจล โดยใช้เพคตินที่กลุ่ม methoxyl ต่ำ ที่ 0.1, 0.2 และ 0.3% W/V และ carrageenan 0.025, 0.05, 0.075, 0.1, 0.2 และ 0.3% W/V เลือกตัวอย่างที่ดีที่สุดมาศึกษาปริมาณนมผึ้งที่เหมาะสมโดยแปรปริมาณเป็น 7, 8 และ 9% W/V จากนั้นศึกษาอายุการเก็บตัวอย่างที่ผสม sodium benzoate 0, 100 และ 200 ppm และเก็บที่ 5-8 ℃ ติดตามการเปลี่ยนแปลงคุณภาพที่เวลา 0-4 สัปดาห์ ผลการทดลอง พบว่า น้ำผัก-ผลไม้ผสมนมผึ้งที่เหมาะสมมี 2 ตัวอย่าง ตัวอย่างแรกประกอบด้วย น้ำสับปะรด น้ำเสาวรส และน้ำแครอท ในอัตราส่วน 7:2:1, น้ำตาลทราย 12% W/V , เพคตินที่มีกลุ่ม methoxyl ต่ำ 0.1% W/V และนมผึ้ง 9%W/V และอีกตัวอย่างหนึ่ง ประกอบด้วยน้ำสับปะรด น้ำเสาวรส และน้ำแครอท ในอัตรา 6:3:1, น้ำตาลทราย 12% W/V, carrageenan 0.025% W/V และนมผึ้ง 8% W/V เครื่องดื่มน้ำผัก-ผลไม้ผสมนมผึ้งทั้ง 2 ตัวอย่างนี้จัดได้ว่าเป็นผลิตภัณฑ์นมผึ้ง ที่มีอายุการเก็บ 2-4 สัปดาห์ และไม่ต้องใช้ sodium benzoate ช่วยในการเก็บถนอม โดยยังมีคุณภาพทางเคมี จุลนทรีย์ และประสาทสัมผัสอยู่ในเกณฑ์ยอมรับได้ |
Other Abstract: | Appropriate formula for the production of fruit and vegetable drink were studied. Quantities of pineapple juice, passion fruit juice and carrot juice were varied at 9:0:1, 8:1:1, 7:2:1, 6:3:1, 5:4:1, 4:5:1, 3:6:1 and 2:7:1. The best quality product was selected and sugar was added at 0, 3, 6, 9 and 12% W/V to improve its flavor. Incorporation of two types of gelling agents comprising low methoxyl pectin (0.1, 0.2 and 0.3% W/V) and carrageenan (0.025, 0.05, 0.075, 0.1, 0.2 and 0.3% W/V) was carried out and the best quality product was selected for further study on appropriate quantity of royal jelly (7,8 and 9% W/V). Study on storage stability of the seclected product was carried out by adding sodium benzoate at 0, 100 and 200 ppm and the resulting products stored at 5-8 ℃ for 0-4 weeks. The two most appropriate samples seclected were those containing pineapple, passion fruit and carrot juices at 7:2:1 and 6:3:1, sugar 12% W/V, low methoxyl pectin 0.1 or carrageenan 0.025% W/V and royal jelly 9 and 8% W/V, respectively. These two samples can still be classified as royal jelly products after storage without sodium benzoate for 2-4 months at 5-8 ℃. At the end of the storage period, the chemical, microbiological and organoleptic qualities of the samples were still being acceptable. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | เทคโนโลยีทางอาหาร |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47637 |
ISBN: | 9746312154 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wallee_ch_front.pdf | 926.94 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wallee_ch_ch1.pdf | 262.82 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wallee_ch_ch2.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wallee_ch_ch3.pdf | 731.66 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wallee_ch_ch4.pdf | 2.48 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wallee_ch_ch5.pdf | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Wallee_ch_ch6.pdf | 291.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Wallee_ch_back.pdf | 2.75 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.