Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48477
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประไพพรรณ ภูมิวุฒิสาร-
dc.contributor.authorสุจิตรา แก้วเขียว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-09T06:35:57Z-
dc.date.available2016-06-09T06:35:57Z-
dc.date.issued2534-
dc.identifier.isbn9745792772-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48477-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2534en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพฤติกรรมเอื้อเฟื้อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดแตกต่างกันในสถานการณ์ที่มีผู้สังเกตและไม่มีผู้สังเกต กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 โรงเรียนกิ่งเพชร กรุงเทพมหานคร จำนวน 60 คน โดยเป็นผู้ที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดสูง 30 คน และผู้ที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดต่ำ 30 คน ซึ่งได้มาโดยการใช้แบบทดสอบความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิด จากนั้นสุ่มกลุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลอง 4 กลุ่มๆ ละ 15 คน เพื่อทดสอบพฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสภาพการณ์การบริจาคดังนี้ กลุ่มที่ 1 นักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดสูงแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสถานการณ์ที่มีผู้สังเกต กลุ่มที่ 2 นักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดสูงแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสถานการณ์ที่ไม่ผู้สังเกต กลุ่มที่ 3 นักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดต่ำแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสถานการณ์ที่มีผู้สังเกต กลุ่มที่ 4 นักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดต่ำแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสถานการณ์ที่ไม่มีผู้สังเกต วิเคราะห์โดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดสูงแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อมากกว่านักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดต่ำทั้งในสถานการณ์ที่มีผู้สังเกตและในสถานการณ์ที่ไม่มีผู้สังเกตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. นักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดสูงแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสถานการณ์ที่มีผู้สังเกตและในสถานการณ์ที่ไม่มีผู้สังเกตไม่แตกต่างกัน 3. นักเรียนที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดต่ำแสดงพฤติกรรมเอื้อเฟื้อในสถานการณ์ที่มีผู้สังเกตและในสถานการณ์ที่ไม่มีผู้สังเกตไม่แตกต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare the generous behavior of elementary school pupils with different cognitive role taking abilities in audience and private situations. The subjects were 60 pupils, 30 with high cognitive role taking abilities and 30 with low cognitive role taking abilities, in Prathom Suksa one, two and three from Kingphet school, Bangkok. All subjects were selected by using a cognitive role taking ability test and then were randomly assigned to 4 experimental groups with 15 pupils each for testing generous behavior in giving situations : group 1 pupils with high cognitive role taking abilities showed generous behavior in an audience situation group 2 pupils with high cognitive role taking abilities showed generous behavior in an audience situation, and group 4 pupils with low cognitive role taking abilities showed generous behavior in a private situation. The data were analysed by using the Two-Way Anglysis of Variance. The major findings are as follow : 1. Pupils with high cognitive role taking abilities showed more generous behavior than pupils with low cognitive role taking abilities both in audience and private situations, significant at the .01 level. 2. There was no significant difference in the generous behavior between pupils with high cognitive role taking abilities both in audience and private situations. 3. There was no significant difference in the generous behavior between pupils with low cognitive role taking abilities both in audience and private situations.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการเปรียบเทียบพฤติกรรมเอื้อเฟื้อของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ที่มีความสามารถในการสวมบทบาทด้านการคิดแตกต่างกัน ในสถานการณ์ที่มีผู้สังเกตและไม่มีผู้สังเกตen_US
dc.title.alternativeA comparison of generous behavior between elementary school pupils with different cognitive role taking abilities audience and private situationsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sujitra_ka_front.pdf1.14 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_ka_ch1.pdf3.73 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_ka_ch2.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open
Sujitra_ka_ch3.pdf575.14 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_ka_ch4.pdf929.96 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_ka_ch5.pdf470.96 kBAdobe PDFView/Open
Sujitra_ka_back.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.