Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49015
Title: การพัฒนาเครื่องวัดค่าสตอปปิงครอสเช็คชั่นของอนุภาคออัลฟาในแกส
Other Titles: Development of measuring instrument for stopping cross section of alpha particles in gases
Authors: สฤษดิ์ ห. เพียรเจริญ
Advisors: วิรุฬห์ มังคละวิรัช
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: ไม่มีข้อมูล
Subjects: รังสีแอลฟา
กัมมันตภาพรังสี -- การวัด
สตอปปิงพาเวอร์ (นิวเคลียร ฟิสิกส์)
Issue Date: 2527
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้ได้ทำการวัดค่าสตอปปิงครอสเซ็คชั่มของอากาศ แกสคาร์บอนไดออกไชต์ แกสอาร์กอน แกสไนโตรเจน แกสออชิเจน แกสอะเซติลีน แกสไฮโดรเจนและแกสหุงต้มสองวิธี วิธีแรกกำหนดให้ระยะห่างต้นกำเนิดรังสีกับหัววัดรังสีคงที่แปรเปลี่ยนความตันภายในห้องเก็บแกส อีกวิธีหนึ่งกำหนดให้ความตันคงที่แปรเปลี่ยนระยะทางระหว่างต้นกำเนิดรังสีกับหัววัดรังสี ค่าสตอปปิครอสเซ็คชั่นของแกสแต่ละชนิดที่ได้จากวิธีการทั้งสองมีค่าใกล้เคียงกันและค่าสตอปปิงครอสเซ็คชั่นของอากาศ แกสในโตรเจน แกสออกซิเจน มีค่าใกล้เคียงกัน อุปกรณ์ที่ใช้ทำการวิจัยสามารถออกแบบและสร้างขึ้นเองได้โดยไม่ต้องซื้อจากต่างประเทศ นอกจากนี้อุปกรณ์ที่ใช้วิจัยยังสามารถศึกษาถึงการสูญเสียพลังงานของอนุภาคอัลฟาในแกสแต่ละชนิด และใช้วัดส่วนผสมของแกสมผสมระหว่างแกสคาร์บอนไดออกไชด์กับแกสอาร์กอน ผลการวิจัยพบว่า จำวนนับรังสีขึ้นอยู่กับส่วนผสมของแกส นอกจากนั้นผลที่ได้สามารถนำไปใช้วัดพลังงานของอนุภาคอัลฟาที่ออกจากต้นกำเนิดรังสี
Other Abstract: Stopping cross section of air carbondioxide argon nitrogen oxygen acetylene hydrogen and butane are investigated firstly by varying the pressure in the gas chamber keeping the distance between the radioactive source and detector constant and then by keeping the gas pressure constant varying the distance between the source and the detector. The results obtained from both methods are approximately the same. The stopping cross section for both nitrogen and oxygen are very near to each other. The facilities with exception for multichannel analyzer can be fabricated using the materials available locally. Moreover the facilities can be used to study the energy loss of alpha particle in various gases. Also the set-up can be used to determine the mixture of carbondioxide and argon since the count rate depends on the mixing ratio of the gases. It can be applied to the determination of energy of alpha particle emanating from the source.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิวเคลียร์เทคโนโลยี
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49015
ISBN: 9745634441
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarit_h.pi_front.pdf10.92 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_h.pi_ch1.pdf4.61 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_h.pi_ch2.pdf11.89 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_h.pi_ch3.pdf3.62 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_h.pi_ch4.pdf12.29 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_h.pi_ch5.pdf4.24 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_h.pi_ch6.pdf11.6 MBAdobe PDFView/Open
Sarit_h.pi_back.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.