Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51635
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัชพงศ์ ตั้งมณี-
dc.contributor.authorกนกวรรณ เนติขจร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2017-02-02T07:49:33Z-
dc.date.available2017-02-02T07:49:33Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/51635-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractประสิทธิภาพของแบบสอบถาม ในฐานะเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ขึ้นอยู่กับปริมาณแบบสอบถามที่ได้ตอบกลับจากหน่วยตัวอย่างที่คำตอบสมบูรณ์และครบถ้วน ตัวชี้บอกความคืบหน้าเป็นเครื่องมือหนึ่งที่อาจช่วยให้หน่วยตัวอย่างตอบแบบสอบถามจนเสร็จ จึงน่าสนใจที่จะวิเคราะห์ถึงลักษณะต่าง ๆ ของตัวชี้บอกความคืบหน้า การศึกษานี้มุ่งเน้นวิเคราะห์ผลกระทบของ (1) รูปแบบ (2) อัตราการแสดง (3) การปรากฏ และ (4) ตำแหน่งของตัวชี้บอกความคืบหน้า ต่อ อัตราการตอบอย่างสมบูรณ์ และ ระยะเวลาในการตอบแบบสอบถาม การศึกษานี้เป็นการทดลองในสภาพจริง การวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า อัตราการแสดงตัวชี้บอกความคืบหน้ามีผลต่ออัตราการตอบอย่างสมบูรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ทว่าผลกระทบของ (1) รูปแบบ (2) การปรากฏ หรือ (3) ตำแหน่งตัวชี้บอกความคืบหน้าต่ออัตราการตอบอย่างสมบูรณ์ไม่มีนัยสำคัญ นอกจากนี้ผลกระทบของทุกตัวแปรต้นต่อระยะเวลาในการตอบแบบสอบถามออนไลน์ไม่มีนัยสำคัญเช่นกัน ข้อสรุปที่ได้จากการศึกษานี้เป็นการต่อยอดองค์ความรู้ทางการวิจัยในบริบทแบบสอบถามออนไลน์ อีกทั้งนักวิจัยอาจใช้ผลเพื่อให้ข้อมูลจากแบบสอบถามออนไลน์ที่มีคุณภาพen_US
dc.description.abstractalternativeAs a tool to collect data, the efficiency of online questionnaire depends on the number of completed questionnaires that return from respondents. A progress indicator may persuade respondents to finish the questionnaire. It is thus interesting to examine factors related to the progress indicator that may affect the survey completion. This study examined the effects of (1) formats (2) display rates (3) appearances and (4) positions of progress indicator on completion rates, and time to complete online questionnaires. This study is based on a quasi experiment. The analysis indicated that the effect of display rates of progress indicator is statistically significant on completion rates at the 0.05 level, but the effects of (1) formats (2) appearances or (3) positions of progress indicator were not significant. In addition the effects of all independent variables on the completion time were not significant. In addition to extending knowledge of online questionnaire’s design, researchers could apply the findings so data from their online questionnaires could be of acceptable quality.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.2090-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแบบสอบถามen_US
dc.subjectแบบสอบถาม -- อัตราการตอบรับen_US
dc.subjectแบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectQuestionnairesen_US
dc.subjectQuestionnaires -- Response rateen_US
dc.subjectInternet questionnairesen_US
dc.titleผลของลักษณะตัวชี้บอกความคืบหน้าต่อประสิทธิภาพของแบบสอบถามออนไลน์en_US
dc.title.alternativeEffect of progress indicator's characteristics on efficiency of online questionnaireen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChatpong.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.2090-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanokwan_ne.pdf3.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.