Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52398
Title: การผลิตก๊าซชีวภาพจากเส้นใยปาล์มร่วมกับทะลายปาล์มเปล่าโดยใช้ตะกอนจุลินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศ
Other Titles: BIOGAS PRODUCTION FROM PALM FIBER AND EMPTY FRUIT BUNCH BY USING SLUDGE FROM ANAEROBIC WASTEWATER TREATMENT SYSTEM
Authors: สุพรรณา ไชยปา
Advisors: เสกศักดิ์ อัสวะวิสิทธิ์ชัย
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: Seksak.A@Chula.ac.th,fmtsas@eng.chula.ac.th
Subjects: ก๊าซชีวภาพ -- การผลิต
ปาล์ม
Biogas
Palms
Issue Date: 2559
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้ทำการศึกษาการผลิตก๊าซชีวภาพของการหมักร่วมระหว่างเส้นใยปาล์มกับทะลายปาล์มเปล่า โดยวัตถุดิบปรับสภาพทางกายภาพและทางเคมีแล้ว จำนวน 5 gVS หมักร่วมกับตะกอนจุลินทรีย์จากระบบบำบัดน้ำเสียแบบไร้อากาศ 300 ml ทำการหมักแบบเติมวัตถุดิบครั้งเดียวเป็นระยะเวลา 40 วัน ใช้สัดส่วนระหว่างทะลายปาล์มต่อเส้นใยปาล์ม 100: 0, 80: 20, 60: 40, 50: 50, 40: 60, 20: 80, และ 0: 100 พบว่าที่สัดส่วน 50: 50 มีศักยภาพการผลิตก๊าซมีเทนสูงสุดคือ 207.12 ml CH4/gVS จากนั้นทำการทดลองหมักด้วยสัดส่วน 50: 50 แบบเติมวัตถุดิบกึ่งต่อเนื่อง โดยที่การเติมวัตถุดิบเริ่มต้น 3.5 gVS และเติมครั้งต่อไป 0.3 gVS ทุกๆ 5 วันเป็นระยะเวลา 30 วัน พบว่ามีศักยภาพการผลิตก๊าซมีเทนมากกว่าการหมักแบบเติมวัตถุดิบครั้งเดียวอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) มีค่าสูงสุดคือ 221.94 ml CH4/gVS ซึ่งเพิ่มศักยภาพในการผลิตก๊าซมีเทนได้ 7.16%
Other Abstract: The present research aims to study the biogas production from co-digestion of palm fiber (PF) and empty fruit bunch (EFB). The PF and EFB substrates of 5 gVS, physical and chemical pretreated with 300 ml sludge of anaerobic wastewater treatment, were digested in batch fermentation for 40 days, with the ratio between EFB and PF as 100:0, 80:20, 60:40, 50:50, 40:60, 20:80, and 0:100. It was found that the highest methane yield was 207.12 mlCH4/gVS at the ratio of 50:50. The ratio of 50:50 was thereby selected for semi-batch fermentation. The onset substrate was 3.5 gVS and then refilled at 0.3 gVS for every 5 days, for total 30 days. It was found that the methane yield was 221.94 mlCH4/gVS. As a result, the semi- batch fermentation had methane yield of 7.16% higher than the batch fermentation (p<0.05).
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เทคโนโลยีและการจัดการพลังงาน
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52398
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2016.34
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2016.34
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5787588120.pdf4.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.