Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53077
Title: ข้อตกลงของ GATS กับการนำระบบการออกใบอนุญาตแบบ SINGLE LICENSE มาปรับใช้ในประเทศไทย : ศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายต่างประเทศ
Other Titles: GATS and the application of single license in Thailand : a comparative study of foreign regulations
Authors: ศุภสรณ์ รุ่งโรจน์วุฒิกุล
Advisors: ทัชชมัย ฤกษะสุต
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
Advisor's Email: rtashmai@ksc.th.com
Subjects: โทรคมนาคม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
อุตสาหกรรมการสื่อสารโทรคมนาคม -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
โทรคมนาคม -- ใบอนุญาต -- ไทย
อุตสาหกรรมการสื่อสารโทรคมนาคม -- ใบอนุญาต -- ไทย
ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยการค้าบริการ
Telecommunication industry -- Law and legislation -- Thailand
Telecommunication -- Law and legislation -- Thailand
Telecommunication industry -- Licenses -- Thailand
Telecommunication -- Licenses -- Thailand
General Agreement on Trade in Services
Issue Date: 2550
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้มุ่งศึกษาหลักเกณฑ์การกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคม เน้นศึกษาเฉพาะการขอรับใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมว่ามีหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และแนวคิดอย่างไร เพื่อหาแนวความคิดและมาตรฐานทางกฎเกณฑ์ขององค์กรกำกับดูแลที่สามารถจะนำมาปรับใช้กับกรณีของประเทศไทย จากการศึกษาพบว่าหลักเกณฑ์การออกใบอนุญาตประกอบกิจการโทรคมนาคมของไทยมีความบกพร่องหลายประการ อาทิเช่น ความไม่โปร่งใส และไม่สามารถตรวจสอบได้ ความล่าช้า การเลือกปฏิบัติ ซึ่งทำให้เกิดการพัฒนาอย่างไม่มีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการกำกับดูแล และไม่สอดคล้องกับหลักการขององค์การระหว่างประเทศ และหลักการการกำกับดูแลการประกอบกิจการโทรคมนาคมของสากลประเทศ ผู้เขียนได้เสนอแนะแนวทางในการพัฒนาหลักเกณฑ์การออกใบอนุญาตเพื่อให้เกิดการกำกับดูแลการที่สร้างความโปร่งใสเป็นธรรมและสามารถตรวจสอบได้ จะต้องมีมาตรการดังต่อไปนี้ 1. ต้องจัดทำ/แก้กฎหมายเกี่ยวกับใบอนุญาตการประกอบกิจการโทรคมนาคม โดยนำหลักเกณฑ์ SINGLE LICENSE มาปรับใช้ในประเทศไทยให้สอดคล้องกับระบบกฎหมายของประเทศไทย 2. ต้องจัดเตรียมหลักเกณฑ์และข้อกำหนดที่ประกอบเป็นเงื่อนไขแนบท้ายใบอนุญาตที่เป็นมาตรฐาน (Standard Condition) ไว้รองรับด้วย เพื่อป้องกันมิให้เกิดความล่าช้า 3. การประกอบกิจการประเภทบริการเสริม หรือ Value Added Services (VAS) ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกตลาด 4. การกำกับดูแลในกิจการที่ต่างกัน ควรมีหลักเกณฑ์การกำกับดูแลที่ต่างกัน 5. ควรจัดตั้งหน่วยงานเฉพาะ เพื่อมาพิจารณาคำขอรับใบอนุญาต และตรวจสอบคุณสมบัติให้รัดกุม รอบคอบ เพื่อสามารถเยียวยาความเสียหายได้ทันท่วงที หากตรวจพบว่าผู้ประกอบการแจ้งข้อมูลอันเป็นเท็จ
Other Abstract: The purpose of this Thesis is to study telecommunication services regulation especially legal theories relating to licensing regime in telecommunication services. From The studies inefficiency exists in Thai telecommunications licensing procedures such as; non-transparency concerns, delays, discriminations. Theses obstacles can only hinder the efficiency of Thai market regulation comparing to international standards and best practices. Thus, The writer has suggested and proposed that Thailand undertake the following measures: 1. Adopt Regulation of Unified Licensing Regime 2. Set Standard Condition to prevent delays 3. Deregulate Valued Added Services. 4. The difference services should not regulated in same regulations. 5. Set up a separate unit to consider licensing applications.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53077
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.372
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2007.372
Type: Thesis
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
surparsorn_ru_front.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open
surparsorn_ru_ch1.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open
surparsorn_ru_ch2.pdf10.61 MBAdobe PDFView/Open
surparsorn_ru_ch3.pdf4.82 MBAdobe PDFView/Open
surparsorn_ru_ch4.pdf1.81 MBAdobe PDFView/Open
surparsorn_ru_back.pdf21.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.