Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53309
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย จูฑะโกสิทธิ์กานนท์-
dc.contributor.advisorวิโรจน์ ดาวฤกษ์-
dc.contributor.authorพงศ์สิทธิ์ จงเรืองลาภ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialนครราชสีมา-
dc.date.accessioned2017-09-17T13:30:13Z-
dc.date.available2017-09-17T13:30:13Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53309-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554en_US
dc.description.abstractพื้นที่ศึกษาอยู่บริเวณตอนเหนือของอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา มีพื้นที่ประมาณ 168.06 ตารางกิโลเมตร โดยมีลักษณะภูมิสัณฐานเป็นขอบด้านทิศใต้ของที่ราบสูงโคราช มีลักษณะทางธรณีวิทยาเฉพาะตัว ทั้งนี้สามารถพบกลุ่มหินโคราชได้ทั่วไปในพื้นที่ศึกษา จากการแปลภาพถ่ายดาวเทียม เพื่อแบ่งขอบเขตของหน่วยหิน แบ่งออกได้เป็น 4 หน่วยหิน คือ หน่วยหิน A, B, C และ D และจากการออกภาคสนาม เพื่อตรวจสอบข้อมูล ได้ข้อมูลดังนี้ หน่วยหิน A จัดเป็นหน่วยหินมอนโซแกรนิต (monzogranite) มีลักษณะของหน่วยหินเป็นพลูตอน (pluton) หน่วยหิน B พบหินดินดานและหินทราย โดยชั้นหินดินดานค่อนข้างหนาถูกแทรกด้วยชั้นหินทราย ทั้งนี้พบชั้นหินทรายเนื้อปานกลาง พบการวางชั้นเฉียงระดับสลับกับชั้นหินทรายเนื้อละเอียดถึงเนื้อละเอียดมาก พบการวางชั้นเฉียงระดับเช่นกัน จากการลำดับชั้นหินแบ่งได้ 12 ชั้นหิน จัดเป็น lithic graywacke ตาม Pettijohn et al. (1972) หน่วยหิน C พบชั้นหินทรายเนื้อหยาบ ชั้นหินแสดงลักษณะชั้นบางๆ แทรกสลับกับชั้นหินทรายเนื้อละเอียดมาก ชั้นหินทรายเนื้อละเอียด และชั้นหินทรายเนื้อหยาบ จากการลำดับชั้นหินแบ่งได้ 48 ชั้นหินจัดเป็น subarkose ตาม Pettijohn et al. (1972) และหน่วยหิน D พบลักษณะเป็นหินตะกอนที่ถูกแปรสภาพ จัดเป็นหินฟิลไลต์และหินชีสต์ แผนที่ธรณีวิทยาสามารถแบ่งได้เป็น 4 หน่วยหิน ดังนี้ หน่วยหินมอนโซแกรนิตวังน้ำเขียว, หมวดหินภูกระดึง, หมวดหินพระวิหาร และหน่วยหินแปรวังน้ำเขียว อีกทั้งจากการลำดับชั้นหินระบุได้ว่าหมวดหินภูกระดึง และหมวดหินพระวิหาร เกิดจากสภาพแวดล้อมการตกสะสมตัวในอดีตของระบบทางน้ำ ในแม่น้ำแบบโค้งตวัด (Meandering River) และแม่น้ำแบบประสานสาย (Braided River) ตามลำดับ สำหรับหมวดหินพระวิหารสามารถเทียบเคียงได้กับ Bijou Creek Type (Miall, 1977)en_US
dc.description.abstractalternativeThe study area is located in Northern Amphoe Wang Nam Khiao, Changwat Nakhon Ratchasima covering the area of approximately 168.06 square kilometers. A notable formation rock of the area is Khorat group which is the Mesozoic sedimentary rock. The study yields 4 photogeological units of the unit A, B, C and D. From field observation and lithostratigraphy, the unit A is Monzogranitic pluton. The unit B exhibits very fine-grained cross laminated sandstone interbedded with medium-grained cross laminated sandstone which can be divided into 12 layers. The petrography study shows that unit B is Lithic Graywacke (Pettijohn, 1972). Moreover, the unit C is divided into 48 layers containing 4 members: coarse-grained parallel laminated sandstone, very fine-grained sandstone, fine-grained sandstone, and coarse-grained sandstone with pebbly gravel. From the petrography study, these 4 members of unit C are Subarkose (Pettijohn, 1972). The unit D composes of Phyllite and Schist. Furthermore, the geological mapping of the area are classified into 4 units; Unit A: Wang Nam Khiao Monzogranite, Unit B: Phu Kradung formation, Unit C: Phra Wihan formation and Unit D: Wang Nam Khiao metamorphic rock. From lithostraigraphic column, Phu Kradung and Phra Wihan formation occurred in fluvial systems which are meandering river and braided river respectively. Phra Wihan formation can be correlated to Bijou Creek type of braided river (Miall, 1977)en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการแปลภาพen_US
dc.subjectการทำแผนที่ -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectแผนที่ธรณีวิทยา -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectการถ่ายภาพทางอากาศในทางธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectการวิเคราะห์ข้อมูลภาพระยะไกล -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยา -- ไทย -- นครราชสีมาen_US
dc.subjectPhotographic interpretationen_US
dc.subjectCartography -- Thailand -- Nakhon Ratchasimaen_US
dc.subjectGeological mapping -- Thailand -- Nakhon Ratchasimaen_US
dc.subjectAerial photography in geomorphology -- Thailand -- Nakhon Ratchasimaen_US
dc.subjectRemote-sensing images -- Thailand -- Nakhon Ratchasimaen_US
dc.subjectGeomorphology -- Thailand -- Nakhon Ratchasimaen_US
dc.titleการแปลภาพโทรสัมผัส เพื่อทำแผนที่ธรณีวิทยา บริเวณตอนเหนือของ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมาen_US
dc.title.alternativePhoto-interpretation for geological mapping of northern Amphoe Wang Nam Khiao, Changwat Nakhon Ratchasimaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorvichaic@yahoo.com-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Report_Pongsit Chongrueanglap.pdf7.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.