Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53310
Title: | การลำดับชั้นหินทางชีวภาพของฟิวซูลินิดและศิลาวรรณนาของหินคาร์บอเนต บริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานีและกระบี่ |
Other Titles: | Fusulinid biostratigraphy and carbonate petrography, Changwat Surat Thani and Krabi |
Authors: | รัฐพงษ์ ชื่นฉอด |
Advisors: | ฐาสิณีย์ เจริญฐิติรัตน์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
Advisor's Email: | thasineec@gmail.com |
Subjects: | ฟิวซูลินิด หินคาร์บอเนต ซากดึกดำบรรพ์ ธรณีวิทยา -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี ธรณีวิทยา -- ไทย -- กระบี่ ศิลาวิทยา -- ไทย -- สุราษฎร์ธานี ศิลาวิทยา -- ไทย -- กระบี่ Fusulinida Carbonate rocks Fossils Geology -- Thailand -- Surat Thani Geology -- Thailand -- Krabi Petrology -- Thailand -- Surat Thani Petrology -- Thailand -- Krabi |
Issue Date: | 2554 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | พื้นที่ศึกษาอยู่ในบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานีและกระบี่ อยู่ทางตอนใต้ของประเทศไทย ซึ่งหินในพื้นที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นหินปูน และหินปูนในบริเวณนี้แสดงลักษณะภูมิประเทศแบบคาสต์ (Karst topography) เป็นหน้าผาสูงชัน เป็นมวลหินขนาดใหญ่ จากการสำรวจภาคสนาม ได้ทำการเก็บตัวอย่างหิน 29 จุดศึกษา และนำมาทำเป็นแผ่นหินบาง จากนั้นได้ทำการศึกษาแผ่นหินบางทั้งทางด้านกายภาพ และทางด้านชีวภาพโดยอาศัยกล้องสองตา binocular microscope ภายในห้องปฏิบัติการ สามารถแยกประเภทของหินคาร์บอเนตบริเวณนี้ได้ 4 ชนิด คือหินปูนชนิด mudstone, wackestone, packstone, grainstone และ dolostone เม็ดตะกอนจะพบเป็นพวกเพลลอยด์ อูลิด และ ซากดึกดำบรรพ์ จำพวกไบโอซัว ซากเปลือกหอย สาหร่าย ซากปะการัง ไครนอยด์ ฟอแรมินิเฟรา ฟิวซูลินิด และ ซากดึกดำบรรพ์อื่นๆ จากการศึกษาซากดึกดำบรรพ์ที่พบในพื้นที่ศึกษา สามารถจำแนกชนิดพันธุ์ ได้เป็น Shanita sp., Dagmarita sp., Colaniella sp., Yangchienia sp. และ Sumatrina sp. ซึ่งจากการศึกษาและเทียบสัมพันธ์อายุทำให้ทราบอายุของหินปูนบริเวณจังหวัดสุราษฎร์ธานีและกระบี่ หรือ กลุ่มหินราชบุรี ว่ามีอายุอยู่ในช่วงเพอร์เมียนตอนกลางถึงตอนปลาย |
Other Abstract: | The study area is located in Changwat Suratthani and Krabi, South of Thailand. The landscape of the area shows the huge mountain ranges with karst topography that is the reason why the stratigraphy relationship in this area is unclear. 29 isolated samples were collected in order to study petrography and determination of carbonate rocks of the study area. Carbonate rock types contain mudstone, wackestone, packstone, grainstone and dolostone. Grains consist of peloid, ooids, and bioclast (bryozoa, gastropods, algae, coral, crinoids, shell fragments, smaller foraminifers, and fusulinid). Smaller foraminifer and fusulinids found in this study contains Shanita sp., Dagmarita sp., Colaniella sp., Yangchienia sp. and Sumatrina sp. which are index fossils in Middle to Late Permian. |
Description: | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2554 |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53310 |
Type: | Senior Project |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
report_RUTTAPONG CHUENSHOD.pdf | 3.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.